Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ 3.7 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ -…
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ
3.7 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
3.7 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
อาการ
อาเจียน กระวนกระวาย ไอมีฟองเลือด
หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก
ความดันเลือดต่ำ ภาวะช็อก
หมดสติ และหยุดหายใจ อาจพบหัวใจหยุดเต้น
พยาธิสภาพ
น้ำจืด : ถ้ามีอยู่ในปอดจำนวนมากจะซึมเข้าปอดทันที ทำให้การไหลเวียนเลือดเพิ่มจากเดิม (Hypervolemia) ทำให้ระดับเกลือแร่ลดลง อาจเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ และอาจทำให้เม็ดเลือดแดงแตกได้อีกด้วย
น้ำทะเล/เค็ม : จะดูดซึมพลาสมาเข้าปอดทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (Pulmonary edema) ระบบไหลเวียนเลือดมีปริมาณลดลง (Hypovolemia) ระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้นอาจเกิดหัวใจวายได้
ปัจจัยที่มีผล
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
สุขภาพผู้จมน้ำ
การรับประทานอาหารที่อิ่มใหม่ๆ
Diving reflexes
การมึนเมาจากสุรา
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
ความรู้ในการว่ายน้ำ
อายุ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ : การสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทำให้อุณหภูมิลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้หัวใจเต้นผิดปกติและเสียชีวิตได้
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
น้ำจืด : Hypervolemia & Hemolysis
น้ำทะเล : Pulmonary edema & Hypovolemia
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรด-ด่าง ในเลือด
Acidosis
PO2 : metabolic acidosis
PCO2 : Respiratory acidosis
น้ำจืด : Hyponatremia , Hypochloremia , Hyperkalemia
น้ำเค็ม : Hypernatremia , Hyperchloremia , Hypermagnesemia
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
เกิดภาวะ Cerebral hypoxia และสมองบวมตามมา ภาวะ Circuratory arrest ทำให้ Cerebral perfusion ลดลง ทำให้สมองขาดเลือด Ischemic brain
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
T 32-28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T 28-25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T 35-32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 25-21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
T 37-35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจและปอด
การสูดสำลักน้ำเข้าไป
Toxicity
Particles และ Micro-Organism
Tonicity
Hypotonic solution : น้ำจืด ทำให้ Surface tension ลดลง
ภาวะ Hypoxia จาก Pneumonia
เกิดภาวะ Atelectasis
Hypertonic solution : น้ำทะเล เกิด Pulmonary edema
เกิดภาวะ Hypoxia จากถุงลมปอดแตก
เกิด Pulmonary damage
เกิด Lung Compliance ลดลง
เกิด Pneumonitis
ไม่มีการสูดสำลักน้ำ
การปฐมพยาบาล
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้หรือหัวใจหยุดเต้นให้ทำการนวดหัวใจทันที
ถ้าผู้ป่วยหายใจได้เอง ให้นอนตะแคงข้าง ศีรษะหงายไปข้างหลัง ใช้ผ้าห้มคุลม ห้ามให้ดื่มน้ำและทานอาหารทางปาก
ถ้าหยุดหายใจให้ช่วยหายใจโดยการเป่าปากทันที หรือทำการผายปอดด้วยวิธีอื่น ทำจนผู้ป่วยจะหายใจได้เอง ถ้ารู้สึกลมเข้าไม่เต็มที่ให้จับผู้ป่วยนอนคว่ำใช้มือ 2 ข้างวางใต้ท้อง และยกท้องขึ้น
ควรส่งผู้ป่วยรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกรายทั้งอาการหนักและเบา
กรณีคนจมรู้สึกตัวดี สำลักไม่มาก
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
แนะนำพบแพทย์เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
3.6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Primary survey และ Resuscitation
การ Control bleeding ดีที่สุด คือ Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
ในผู้ป่วยกระดูกผิดรูป / Fracture ให้ทำการ Splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด และพิจารณาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และออกซิเจนด้วย
มักพบปัญหาการเสียเลือดจากการบาดเจ็บ และเกิดภาวะ Hypovplemic shock / Hemorrhage shock ได้
Secondary Survey
การตรวจร่างกาย
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง : ให้ผู้ป่วยนอนหลายกดบริเวณ Sternum แล้วบีบเข้าด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน หากปวดแสดงว่ามีการหัก กระดูกเชิงกรานให้ออกแรงกดบริเวณ anterior Superior iliac spine สองข้างพร้อมกันในแนว Anterior - posterior บีบด้านข้างเข้าหากัน และกด Pubic symphysis ถ้าหักจะปวด
กระดูกสันหลัง : ส่วนคอให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงาย ถ้าทำได้อาจไม่มีการหัก ให้นอนหงายพลิกตัวแบบท่อนซุง ใช้มือคลำกระดูกสันหลังตลอดแนว หากมีการบาดเจ็บ บวม ผิดรูป ให้สันนิษฐานว่ามีกระดูกหัก
กระดูกแขนขา : หากยกได้ทั้ง 2 ข้างถ้ายกได้คือไม่น่าจะมีกระดูกหัก
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey : ใช้หลักการตรวจของกระดูก
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
การเอกซเรย์
เอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior - Posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
การซักประวัติ
1.2 ระยะเวลา เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการรักษา เช่น Open fracture นานกว่า 8 hrs.
1.3 สถานที่ เช่น อุบัติเหตุในน้ำสกปรก คูน้ำ เป็นต้น
1.1 สาเหตุการเกิด เช่น รถยนต์ชน จักรยานยนต์แฉลบ ถูกยิง ถูกแทง บ่งบอกถึงสาเหตุความรุนแรง และลักษณะการบาดเจ็บได้
1.4 การรักษาเบื้องต้น เช่น การใส่ Splint การใส่ traction การให้ Antibiotic
Defective care
Rehabilitation : ฟื้นฟูสมรรถภาพส่วนที่บาดเจ็บ และจิตใจ
Reconstruction : การแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อนให้กลับมาทำงานได้ดีขึ้น
Retention : Immobilization การประคับประครองให้กระดูกมีการเคลื่อนน้อยที่สุด เพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่ม ทำการ Splint ก่อนเคลื่อนย้ายทุกครั้ง
Refer : ส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
Reduction(Open / Close) : การจัดกระดูกให้เข้าที่ ให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
Recognition : ตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อ การบาดเจ็บอื่น
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Arterial Hemorrhage
การบาดเจ็บของหลอดเลือดแดงเรียกว่า Hard signs ได้แก่ Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล Hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น ฟังได้ bruit และ 6Ps
การช่วยเหลือเบื้องต้น : ควรทำ Direct pressure บริเวณแผลเพื่อหยุดเลือด และ Fluid resuscitation
Crush Syndrome
เกิดภาวะ Rhabdomyolysis พบอาการตั้งแต่ Çetinine kinase สูง เกิด Renal failure และ DIC เสียชีวิตได้
อาการที่พบ ได้แก่ Dark Urine , Hemoglobin + , Rhabdomyolysis : Hypovolemia , Metabolic acidosis , Hyperkalemia , Hypocalcemia , DIC
มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้อที่รุนแรง โดยเฉพาะบริเวณ thigh และ calf muscle ทำให้เซลล์กล้ามเนื้อขาดเลือดและตายแล้วปล่อย Myoglobin
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้ Fluid resuscitation ให้ Osmotic Diuretic เพื่อรักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
แพทย์พิจารณาให้ Sodium Bicarbonate เพื่อช่วยลด Myoglobin ที่ไปทำลาย Tubula system
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
มักเกิดการบาดเจ็บของ Bladder และ Urethra
การตรวจร่างกาย
คลำ : พบกระดูก Pelvic แตก พบ High-riding prostate gland และ มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหวขาที่ผิดปกติจะสั้น / ตรวจ Sacral nerve root และ Plexus ด้วย
ระบบไหลเวียนเลือด จะพบความดันโลหิตต่ำ
ส่งเอกซเรย์ใรายที่สงสัย โดยการส่ง Pelvic AP view
ดู : พบ Progessive flank , พบ Scrotum & Perineum บวม , มีแผลฉีกขาดบริเวณ Pelvic และ Perineum
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะ Hypovolemic shock คำนึงถึงภาวะ Unstable pelvic fracture