Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เมตาบอลิซึมของกรดไขมัน, นางสาวกชกร อ่อนละมัย เลขที่ 1 รหัสนักศึกษา…
เมตาบอลิซึมของกรดไขมัน
กระบวนการเมแทบอลิซึม(Metabolism)
เมแทบอลิซึม เป็นกิจกรรมทางเคมี
ที่เกิดขึ้นเฉพาะสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
การซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
กำจัดของเสีย
การเจริญเติบโต
ขบวนการเมแทบอลิซึมแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
Catabolism
ปฏิกิริยาที่ย่อยสลายสารประกอบขนาดใหญ่ให้เป็นสารโมเลกุลขนาดเล็กและปล่อยพลังงานเคมีที่อยู่ในพันธะโมเลกุลนั้นๆ
เรียกว่า Exergonic
การย่อย แป้ง --------- กลูโคส------- ATP
Anabolism
ปฏิกิริยาที่สร้าง หรือรวมตัวเอาโมเลกุลขนาดเล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดใหญ่
ซึ่งต้องการพลังงาน เรียกว่าEndergonic
เกิดการรวมตัวของกลูโคสหลายโมเลกุล
เกิดเป็นแป้ง
ไกลโคเจน
การสร้างพลังงาน
นอกจากการเสียหรือรับพลังงานแล้วปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตจะมีการถ่ายทอดอิเล็กตรอน
ปฏิกิริยาoxidation
ปฏิกิริยาที่โมเลกุลเกิดการสูญเสียอิเลคตรอน
ปฏิกิริยาreduction
ปฏิกิริยาที่โมเลกุลได้รับอิเลคตรอน
ปฏิกิริยาการสังเคาระห์ด้วยแสง
ปฏิกิริยาแอนาบอลิซึม
โดยพืชสังเคราะห์กลูโคส
คาร์บอนไดออกไซด์
น้ำโดยมีคลอโรฟิลล์
เป็นสารที่จับพลังงานแสงสว่างจากดวงอาทิตย์
มาใช้ในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสง
การหายใจ
ของพืชสีเขียวและสัตว์ที่ต้องการออกซิเจน
จัดเป็นปฏิกิริยาแคทาบอลิซึม
แคตาบอลิซึมมของกรดไขมัน
(Catabolism of fatty acids)
ประมาณ 95% ของพลังงานทั้งหมดของไตรเอซิลกลีเซอรอลจะยังคงอยู่ในรูปของสายโซ่ของกรดไขมัน
ไขมันส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของไตรเอซิลกลีเซอรอลหรือไตรกลีเซอไรด์
การที่จะย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอล
ไตรเอซิลกลีเซอรอลจะต้องเปลี่ยนจากรูปที่ไม่ละลายน้ำไปเป็นรูปของไมเซลล์(micelles)
โดยต่อมน้ำดีจะหลั่งน ้าดีไปคลุกเคล้ากับไตรเอซิลกลีเซอรอลที่ลำไส้เล็ก ทำให้เอนไซม์ไลเปส (water – soluble lipase) ทำหน้าที่ย่อยไตรเอซิลกลีเซอรอลแล้วจะได้เป็น
กลีเซอรอล (glycerol)
กรดไขมันอิสระ (free fatty acids)
กรดไขมัน จากการย่อยอาหาร จะถูกดูดซึมที่ลำไส้เล็กแล้วสังเคราะห์ขึ้นใหม่เป็น triacylglycerol
Triacylglycerol ในเนื้อเยื่อไขมัน (Adipocyte) จะถูกย่อยด้วยเอนไซม์ Triacylglycerol Lipase ได้เป็น
glycerol
กรดไขมัน
กรดไขมัน ถูกส่งไปส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยอาศัยไปกับ serum albumin
แคตาบอลิซึมของกรดไขมัน เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชั่น เกิดในไมโตคอนเดรีย
การออกซิไดซ์กรดไขมันเกิดที่ C
ตำแหน่งที่3 (เบต้าคาร์บอน)
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน (ß-oxidation)
การกระตุ้นกรดไขมัน
(Fatty acid activation steps)
การเปลี่ยน fatty acid ให้อยู่ในรูป fatty acyl
ใช้ไป 2 ATP
การพากรดไขมันเข้าสู่่ไมโตคอนเดรีย
(Acyl carnitine shuttle)
ทางเข้าของ F.A ไปยัง mitocondrial matrix
(Carnitine shuttle)
Transestrification ไปยัง Carnitine ตามด้วยการข่นส่ง
การเปลี่ยนกลับเป็น coA
เอสเทอริฟิเคชันไปยัง coA
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชัน (ß-oxidation)
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชันของ palmitoyl-CoA
palmitoyl-CoAจะถูกออกซิไดซ์ทั้งหมด
7 ครั้ง และได้ 8 acetyl-CoA ดังสมการ
จาก FADH2จะให้ 1 คู่อิเล็กตรอน และสังเคราะห์ได้ 1.5 ATP และ NADH จะให้ 1 คู่อิเล็กตรอน และสังเคราะห์ได้ 2.5 ATP ดังนั้น การออกซิไดซ์ 1 ครั้งและก าจัดคาร์บอน ออก 2 อะตอม จะสังเคราะห์ได้ 4ATP
ปฏิกิริยาเบต้าออกซิเดชันของกรดไขมันไม่อิ่มตัว
การออกซิไดซ์กรดไขมัน oleate ที่มี 18 C และมี 1 พันธะคู่
การออกซิไดซ์กรดไขมันที่มี
จำนวนคาร์บอนเป็นเลขคี่
การสังเคราะห์กรดไขมัน (Fatty Acid Synthesis)
การสังเคราะห์กรดไขมัน
เกิดขึ้นที่ไซโตพลาสมของเซลล์ตับ กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื่อไขมัน
จะเริ่มต้นจาก Acetyl CoA แล้วค่อย ๆ เพิ่มจำนวนคาร์บอนขึ้นครั้งละ2 อะตอม จนได้กรดไขมันที่มีจำนวนคาร์บอนตามต้องการ
จะสังเคราะห์เมื่อเซลล์มีพลังงานเพียงพอ และมี Acetyl CoA เหลือใช้แต่เอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์มีอยู่ในไซโตพลาสม ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องนำเอา Acetyl CoA ออกมาจาก
ไมโตคอนเดรียก่อน
NADPHและเมตาบอลิซึมของคีโตนบอดี
เป็นโคแฟกเตอร์ที่ใช้ในการสังเคราะห์กรดไขมันนิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลีอิกซึ่งต้องใช้NADPHเป็นตัวให้อิเล็กตรอน
เมื่อร่างกายต้องการพลังงานจะสลายคีโตนบอดี้ที่เก็บไว้ตามส่วนต่างๆของร่างกาย เป็นต้น
acetyl CoA เข้าสู่ CTA -cycle
สารคีโทนบอดีส์เป็นกลุ่มของสารประกอบที่สังเคราะห์ได้ในร่างกายเมื่อมีเมแทบอลิซึมของไขมันเพิ่มขึ้นมากจะมีสารคีโทนบอดีส์สังเคราะห์จากแอซีทิลโคเอมากขึ้นกว่าปกติ
เรียกว่าภาวะคีโตซีส (ketosis)
นางสาวกชกร อ่อนละมัย เลขที่ 1
รหัสนักศึกษา 622801001