Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรถ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรถ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
การรักษา
บทบาทพยาบาล
ระยะคลอด
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือดสารคัดหลั่ง ดูแลการคลอดให้เป็นไปตามปกติไม่กระตุ้นการคลอด ไม่เจาะน้ำคร่ำ
ดูแลทารกโดยใช้หลัก Universal precaution
Suction ให้เร็วและมากที่สุด
ระยะหลังคลอด
แนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ประเมินภาวะหัวนมแตก ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
แนะนำการคุมกำเนิด การปรับตัวด้านจิตสังคม
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรอง, ส่งตรวจ HBsAG, ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัว
ติดเชื้อในระยะก่อนคลอด พิจารณาให้ยาต้านไวรัส
ติดเชื้อหลังคลอด ดูแลให้ยา TDF
ดูแลทารกโดยใช้หลัก Universal precaution
Suction ให้เร็วและมากที่สุด
ฉีด HBIG เข้ากล้ามเนื้อทันที และฉีดวัคซีนภายใน 12 ชั่วโมง
HBsAG: บอกถึง การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
HBeAG: บอกถึง ความสามารถในการแบ่งตัวของไวรัส
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
เกิดเบาหวาน ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ รกลอกตัวก่อนกำหนด พบอัตราการชักนำการคลอดและการผ่าตัดคลอด
ผลต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด การแท้ง การตายคลอด
อัตราการตายหลังคลอด การมีเลือดออกในสมอง
อาการ
ระยะฟักตัวเฉลี่ย 90 วัน ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ ตัวเหลืองตาเหลือง
หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อในไตรมาสที่ 3 มีโอกาสถ่ายทอดสู่ทารกได้มาก
การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
เกิดจาก Zika virus ยุงลายเป็นพาหะของโรค
และสามารถติดต่อจากคนสู่คนโดยผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ทดสบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ด้วยวิธิ ELISA
การตวจดีเอ็นเอด้วยน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อ (RT-PCR)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
วัดรอบศีรษะทารก 2 ครั้ง เมื่อแรกเกิดและ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
อาจมีอาการร่วม เช่น อาการชัก พัฒนาการล่าช้า ความผิดปกติการดูดกลืน
อาาการ
ระยะฟักตัว 2-7 วัน ไข้ ปวดศีรษะ
ออกฝื่นที่ลำตัวและแขนขา ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
การป้องกัน
ป้องกันยุงกัดและทำลายแหล่งเพาะพันธ์
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโดยตรง รักษาประคับประคองตามอาการ พักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำ 2,000-3,000 มิลลิลิตรต่อวัน
ห้้ามใช้ยากลุุ่ม NSAIDS และ Aspirin
ซิฟิลิส (Syphilis)
จากเชื้อแบคทีเรีย ติดจากมารดาไปยังทารกผ่านรกโดยตรง
และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
การวินิจฉัย
การตรวจเลืด FTA-ABS การส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
อาการ
ปฐมภูมิ มีแผลริมแข็งมีตุ่มแดงที่อวัยววะเพศ ริมฝีปาก
ขอบนูนไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองไม่โต มีแผล 1-5 สัปดาห์
ทุติยะภูมิ 2-3 สัปดาห์หลังแผลหาย มีตุ่มสีน้ำตาลไม่คันตามผ่ามือผ่าเท้า มีไข้ ปวดตามข้อ ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
ระยะแฝง หลังรับเชื้อ 2-30 ปี ไม่มีอาการ
ตติยภูมิ 2-30 ปีเชื้อจะทำลายอวัยวะภายใน
หัวใจ หลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้ง ทารกตาบอด คลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า ทารกบวมน้ำ
การรักษา
ระยะคลอด ใช้หลัก universal precaution Suction โดยเร็ว
และเจาะเลือดจากสายสะดือส่งตรวจ
ระยะหลังคลอด ให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์ ตวรจคัดกรอง ดูแลให้ยา แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะเพศ แนะนำให้สามีมาตรวจด้วย ดูแลด้านจิตใจ
หัดเยอรมัน (Rulella , German measles)
ติดเชื้อโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปากของผู้ติดเชื้อ และแพร่กระจายเข้ากระแสเลือดติดต่อไปยังทารก
การวินิจฉัย
ตรวจน้ำลายและตรวจเลือด (ELISA)
ติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์ต่อมา
อาการ
ระยะก่อนออกผื่น: ไข้ต่ำ ปวดศีรษะ ตาแดง คออักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ
2 วันหลังมีไข้ พบจุดสีขาวคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม (Koplik's spot)
ระยะออกผื่น: ผื่นขึ้นหลังไข้ 3-4 วัน ผื่นแดงเล็กๆ มีตุ่มนูนขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนัง และหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทารกพิการแต่กำเนิดจากการติดเชื้อหัดเยอรมัน (CRS) หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษา
หญิงตั้งครรภ์ภายใน 3 เดือนแรกแพทย์แนะนำการยุติการตั้งครรภ์
ในรายไม่ยุติการตั้งครรภ์พิจารณาฉีด Immunoglobulin ลดความรุนแรง รักษาแบบประคับประคอง
หูดหงอนไก่
(Condyloma accuminata and pregnency)
การวินิจฉัย
การทำ pap smear พบ koliocytosis
อาการ
หูดขึ้นรอบทวารหนัก เป็นก้อนสีชมพูนุ่ม ผิวขรุขระ รวมกันเป็นก้อนคล้ายดอกกระหล่ำ ตกขาวมีกลิ่นเหม็น คัน
การรักษา
รักษาด้วยสารเคมี โดยการจี้ ไม่แนะนำในหญิงตั้งครรภ์
การจี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์พบว่าได้ผลดี สามารถให้คลอดทางช่องคลอดได้ สามารถคลอดทางหน้าท้องได้ ยกเว้นหูดมีขนาดใหญ่ขัดขวางช่องคลอด
การพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา - แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะเพศ - แนะนำการส่งเสริมสุขภาพ
โรคเอดส์ (Acquired immune defiency syndrome)
กลุ่มที่ 1 ไม่มีอาการมีเพียงผล ELISA ผลบวก
กลุ่มที่ 2 กลุ่มอาการคล้ายเอดส์ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว
ผื่นตามตัว CD4ต่ำกว่า 500-200
กลุ่มที่ 3 อาการสัมพันธ์กับเอดส์ ไข้สูงฉับพลัน
ไข้ต่ำนาน 2-3 เดือน เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน
ต่อมน้ำเหลืองโต ท้องเดิน น้ำหนักลด
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การวินิจฉัย
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์ ELISA การตรวจยืนยัน (WB,IFA)
การติดต่อ
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การร่วมเพศทางทวารหนัก
จากมารดาสู่ทารก ทางกระแสเลือด การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ แนะนำการรักษาสุขภาพป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ในครอบครัว ตรวจหาระดับ CD4 ดูแลให้รับประทานยา AZT
ระยะคลอด หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตก
หรือรั่ว universal precaution
ระยะหลังคลอด อยู่ในห้องแยก งดให้นมบุตร แนะนำคุมกำเนิด
ให้ NPV และ AZT ทันทีหลังคลอด
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
อาการ
vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ ปวดแสบปวดร้อน
มีไข้ ปวดเมื่อตามตัว ต่อมน้ำเหลืองโต อ่อนเพลีย
ทารก ติดเชื้อในร่างกาย มีตุ่มใสตามร่างกาย ตาอักเสบ
ไข้หนาวสั่น ซึมไม่ดูดนม ตับม้ามโต ปากอักเสบ
วินิจฉัย การเพราะเชื้อ เซลล์วิทยา
การรักษา ให้ยาปฏิชีวนะดูแลแผลให้สะอาด ดูแลให้ยา acyclovir
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องป้องกันการติดเชื้อสู่ทารก
การพยาบาล
ระยะคลอด หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ทำความสะอาดทารกทันที
ระยะหลังคลอด ให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
ระยะตั้งครรภ์ ลดความไม่สุขสบาย
เพิ่มภูมิต้านทาน ให้ยาต้านไวรัส
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์