Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
“Withdrawal Behavior” พฤติกรรมแยกตัวเองหรือถอยหนี - Coggle…
“Withdrawal
Behavior”
พฤติกรรมแยกตัวเองหรือถอยหนี
หมายถึง พฤติกรรมการหลีกเลี่ยงจากเหตุการณ์ บุคคลหรือสถานการณ์ที่ทำให้รู้สึกว่าตนเองไม่ปลอดภัยหรือรู้สึกว่าตนเองเกิดอึดอัดจึงต้องหลีกหนีให้พ้นจากสภาพนั้นแล้วแยกออกมาอยู่คนเดียว
ระดับของการแยกตัวเองหรือถอยหนี
การแยกตัวเองในระดับปกติ (Normal withdrawal) เป็นการแก้ปัญหาข้องบุคคที่เมื่อมีความอึดอัดก็จะหลีกเเลี่ยง เช่น เมื่อพบปะกับคนแปลกหน้า
การแยกตัวในระดับมีอาการทางจิตประสาท (Neurotic withdrawal) เป็นการถอยหนีออก จากสภาพความเป็นจริงรอบตัวโดยสินเชิง (Out of reality) แล้วอยู่คนเดียว คิดฝันและจินตนาการตามลำพังจนไม่สามารถแยกแยะความเป็นจริงและจินตนาการได้ บุคลิกภาพออ่อนแออ่อนไหวง่าย ใช้กลไกทางจิตแบบหนี (moving away) ไม่กล้าเผชิญ ทำให้ขาดการติดต่อกับบุคคลอื่น บุคลิกภาพจะค่อย ๆพัฒนาสู่ภาวะถอยหนี
ล้กษณะของพฤติกรรมแยกตัวเองหรือถอยหนี
Social Isolation : การแยกตัวออกจากสังคม
Autistic Thinking : หมกหมุ่น
Regression : ถดถอย
Out of Reality : ไม่อยู่กับความเป็นจริง
Impairment of Intelligence : ด้อยสติปัญญา
ล้กษณะที่แสดงออกทางกาย ได้แก่ เงียบเฉย เก็บตัว แยกตัวชอบนอนอยู่ตามซอกมุมเงียบๆ สกปรก ไม่สนใจกิจวัตรส่วนตัวมีท่าทางแปลก ๆ(Peculiarity) อยู่ท่าใดท่าหนึ่งนาน ๆ (Waxy flexibility) ไม่เรียกร้องต้องการอะไร
ลักษณะที่แสดงออกทางจิตใจ ได้แก่ ความคิดเพ้อฝัน ฝันกลางวัน (Day dream) รักและหลงตนเอง หมกมุ่น แต่เรื่องของตน ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมไม่มีอิทธิพลต่อความคิด อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย ความรู้สึกนึกคิดไม่อยู่ในความเป็นจริง มีอาการประสาทหลอนและหลงผิด
กลไกการเกิดพฤติกรรมแยกตัว
เหตุส่งเสริมที่กระทบต่อบุคคล
มีบุคลิกภาพเก็บตัว (Schizoid personality) และขาดความมั่นคงทางจิตใจ
ได้รับการเลี้ยงดูจากครอบครัว แบบ
2.1 บิดามารดามีความขัดแย้งกัน
2.2 บิดามารดาปกป้องมากเกินไป
2.3 บิดามารดามีลักษณะแยกตนเอง
มีผลทำให้เกิด
ความรู้สึกไม่ปลอดภัย
ขาดความรักความอบอุ่น
ขาดความเชื่อมั่นในตน์เอง
มีปมด้อย ไม่มีคุณค่า
กลไกทางจิตที่ใช้ในการเผชิญปัญหา
Withdrawal, Denial, Regression, Fantasy
ผู้ป่วยปรับตัวไม่ได้
หลีกเลี่ยงจากสิ่งแวดล้อม และแยกตนเองจากความเป็นจริงโดยสิ้นเชิง
การพยาบาลที่สำคัญ
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อตอบสนองความต้องการขั้นพื้นฐาน การยอมรับและไว้วางใจ เช่น แสดงความสม่ำเสมอ จริงใจ เป็นมิตร เห็นใจ ไม่ตำหนิ อดทน ให้คำชมเชย
ให้กำลังใจเมื่อผู้ป่วยทำได้ดี และถูกต้อง จะทำให้ผู้ป่วยเกิดความภูมิใจเป็นการดึงเข้าสู่สังคมทางหนึ่ง และลดพติกรรมแยกตนเองหรือถอยหนีได้ ให้ความจริงเพื่อดึงผู้ป่วยให้กลับมาสู่โลกของความเป็นจริง (Reality world)
3.รับฟังอย่างเป็นกลาง ไม่โต้เถียง ขัดแย้งหรือเห็นด้วย ไม่ใช่คำถามที่ก่อให้เกิดความวิตกกังวลหรือคุมคามผู้ป่วย
4.ให้ผู้ป่วยได้ทำกิจกรรมกลุ่มบำบัด เพื่อให้มีความคิดอยู่กับงาน
5.แลกเปลี่ยนความคิดความรู้สึกกับบุคคลอื่น