Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.8การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสาธารณภัย - Coggle Diagram
3.8การพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ประสาธารณภัย
ปฏิกิริยาของผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์รุนแรง
ด้านร่างกาย
หน้ามืด วินเวียง รู้สึกร้อน อ่อนเพลีย ไม่มีแรง ปวดท้อง
ด้านการแสดงออก
นอนไม่หลับ หลับๆตื่นๆ ตกใจง่าย แยกจากสังคม
ด้านอารมณ์
ช็อค ไม่ยอมรับในสิ่งที่เห็น วิตกกังวล กลัว เศร้า
ด้านการรับรู้
สับสน มึนงง ไม่มีสมาธิ ปัญหาความจำ ต้องพบเชียวชาญด้านจิตใจ เช่น จิตแพทย์
ปฏิกิริยาทางจิตใจที่เกิดขึ้นหลังเกิดเหตุการณ์วิกฤต
ช็อคและปฏิเสธ(Shock and Denial)
ลักษณะอาการ มึนงง สับสน หลงลืม จำอะไรไม่ได้ ปฏิเสธ ไม่ยอมรับ
โกรธ(Anger)
ตะโกนด่า กระวนกระวายเดินไปมา ทำร้ายตนเอง กล่าวโทษผู้อื่น
ต่อรอง(Bargaining)
พูดซ้ำๆ หรือพูดคาดคั้นในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คาดหวังปาฏิหารย์ บนบานศาลกล่าว
อารมณ์เศร้า(Depression)
ร้องไห้ ปากสั่น เสียใจ เป็นลม
ปัญหาที่เกิดขึ้นในผู้ประสบภาวะวิกฤต
1.ด้านจิตใจ
เกิดอาการหวาดกลัว สถานที่เกิดเหตุการณ์ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตและทำงานเหมือนอย่างเดิม
เกิดเจ็บป่วยทางจิตเวช เช่น โรคเครียดแบบเฉียบพลัน โรคเครียดหลังเกิดเหตุการณ์
มีภาวะสับสน ว้าวุ่น ความคิดแปรปรวน เครียด สิ้นหวัง รู้สึกผิด
2.ด้านร่างกาย
อ่อนแอ พักผ่อนไม่พอ เนื่องจากมีอาการนอนไม่หลับเกิดจากฝัน หลับๆตื่นๆ
3.ด้านพฤติกรรม
ไม่สนใจดูแลตนเองและสิ่งแวดล้อม แยกตัวจากสังคม ปฏิเสธการรับรู้เรื่องราว ลักขโมย
ระดับทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต(MCATT)
ทีมระดับตำบล
ทีม MCATT ประจำพื้นที่่ในระดับตำบล
ผอ.รพ.สต. และผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตรพ.สต.อสม. เจ้าหน้าที่ แกนนำชุมชน
ทีมระดับดำเภอ
ทีม MCATT ประจำพื้นที่่ในระดับอำเภอ
จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลินิก เภสัชกร นักวิชาการ
ทีมระดับจังหวัด
ทีม MCATT ประจำพื้นที่่ในระดับจังหวัด
จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิต นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการสาธารณสุข เภสัชกร
ทีมระดับกรมสุขภาพจิต
ทีม MCATT
จิตแพทย์ พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร
การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤตของทีมMCATT
1.ระยะเตรียมการ
เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสถานการณ์วิกฤตต่างๆ เตรียมความพร้อมบุคคล องค์กร ชุมชน
รับนโยบายจัดเตรียมโครงการช่วยเหลือ และแผนการดำเนินงาน จัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือ จัดเตรียมทีมปฏิบัติงาน
มีการพัฒนาความรู้ เช่น ปฐมพยาบาลทางจิตใจ(PFA) บำบัดพฤติกรรมความคิด(CBT) การใช้แบบประเมิน
2.ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต(ใน72hr.แรก)
ผู้ประสบภาวะวิกฤตมีความตื่นตัวทางสรีระและพฤติกรรม เพื่อเอาชีวิตรอด
เกิดความเครียด หวาดผวา หวาดกลัว ช็อก กังวล
ผู้ประสบช่วยเหลือกัน มีคนมาช่วยไม่มีระบบ
ช่วยเหลือด้านร่างกาย ความต้องการพื้นฐาน
ระยะที่ต้องปฐมพยาบาลด้านจิตใจ(PFA)
ระยะฉุกเฉิน (72hr.-2wks.)
ผู้รอดชีวิตจะมองโลกในแง่ดี การช่วยเหลือไหลเข้ามา
จะสำรวจข้อมูลสถานการณ์ วางแผน ประเมินคัดกรอง จัดลำดับความต้องการที่เร่งด่วน
กลุ่มความรุนแรง 6 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูญเสียบุคคล กลุ่มมีประวัติจิตเวช กลุ่มรับผลกระทบหลังประสบปัญหา กลุ่มสูงอายุและเด้ก กลุ่มผู้พิการ กลุ่มต้องการบริการสุขภาพ
กลุ่มต้องการบริการสุขภาพจิต ขั้นตอน
1.เมื่อเกิด ทีมMCATT เข้าพื้นที่ช่วยเหลือ เพื่อประเมินสถานการณ์ ช่วยเหลือ เตรียมความพร้อม รับบทบาทหน้าที่ เตรียมอุปกรณ์ แบบประเมิน
2.คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงปัญหาสุขภาพจิต
3.สำรวจความต้องการช่วยเหลือด้านร่างกายและจิตใจ
4.พบความเสี่ยง ทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนติดตาม
5.สรุปรายงานสถานการณ์
การปฐมพยาบาลทางจิตใจ(PFA)ด้วยหลักการ EASE
1.วิธีสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจผู้รับผลกระทบ(Engagement)
การสังเกตภาษา ท่าทางและพฤติกรรม สร้างสัมพันธภาพ การสื่อสาร
การสังเกตภาษาท่าทางและพฤติกรรม
Nonverbal ได้แก่ สีหน้า แววตา ท่าทาง เคลื่อนไหว
Verbal ได้แก่ พูดสับสน ฟังไม่รู้เรื่อง
การสัมพันธภาพ
มีท่าทีสงบนิ่ง แนะนำตัวเอง มองหน้าสบตา รับฟังที่สงบให้กำลังใจ พยักหน้า สัมผัส เมื่อช็อกควรนั่งเป็นเพื่อน
การสื่อสาร
พูดคุยเบื้องต้น เน้นความรู้สึกขณะนั้น เพื่อให้ระบายควารู้สึก
2.วิธีการประเมินผู้ได้รับผลกระทบ(Assessment:A)
ประเมินและตอบสนองด้านร่างกาย
บาดเจ็บให้ยาบรรเทาปวด อ่อนเพลียให้ดื่มน้ำและอาหาร เป็นลมหายาดม ผ้าเช็ดหน้าและแขน อยู่ที่ไม่ปลอดภัยให้เคลื่อนย้าย
ประเมินสภาพจิตใจ
ในช่วงอารมณ์ช็อก ปฏิเสธ โกรธ ต่อรอง เศร้าเสียใจ
ช็อกและปฏิเสธ คือ มึนงง สับสน หลงลืม ปฏิเสธไม่ยอมรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การดูแลกาย อยู่ที่สงบ ปลอดภัย เตรียมน้ำ ยาดม คลายเสื้อ
ดูแลทางจิตใจ ระบายความรู้สึก ใช้เทคนิคการสัมผัส
ช่วยเหลือสังคม สอบถามความต้องการเร่งด่วน
ภาวะโกรธ เช่น ตะโกน ด่าทอ กำมือ
ดูแลทางกาย อยู่ที่ปลอดภัย ดูแลใกล้ชิด ไม่รุกเข้าไป ท่าทีสงบ
ดูแลทางใจ ให้ระบายความรู้สึกใช้ทักษาฟังอย่างตั้งใจ และพูดสะท้อนอารมณ์
ภาวะต่อรอง เช่น พูดซ้ำๆหรือพูดคาดคั้น
อดทน รับฟัง ไม่แสดงอาการเบื่อหน่าย
สนองความต้องการในสิ่งที่ให้ได้
ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ทักษะการประเมินอารมณ์
ภาวะเสียใจ เช่น ร้องไห้ ซึมเศร้า แยกตัว นิ่งเงียบ โทษตัวเอง
การช่วยทางกาย หาผ้าเช็ดหน้า น้ำเย็น ผ้าเย็น หรือการสัมผัว พูดให้กำลังใจ รับฟัง
ภาวะฆ่าตัวตาย
การปฐมพยาบาลจิตใจ ใส่ใจทุกรายละเอียดเพื่อ V/S ความเสี่ยงต่อฆ่าตัวตาย
ประเมินทางสังคม
ต้องการพบญาติ ให้ติดต่อประสานโดยการโทรศัพท์
ไร้ญาติขาดมิตร ประสานกำนัน มูลนิธี
ต้องการช่วยเหลือด้านการเงิน ทุนการศึกษา ติดต่อหน่วยงาน
3.วิธีการเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills:S)
การฝึกกำหนดลมหายใจ (Breathing exercise) เกิดความผ่อนคลายทางอารมณ์
การสัมผัส(Touching skill) การสัมผัสทางกาย เช่น แตะมือ บ่า
ทักษะการGrounding คือ ช่วยเหลือประสบการณ์วิกฤตอารมณ์ท่วมท้นกลับมาอยู่ความจริง
การนวดสัมผัส และการนวดกดจุดคลายเครียด
การลดความเจ็บปวดทางใจ
1.การฟังอย่างใส่ใจ(Active Listening) ฟังตั้งใจต่อเนื่องต่อเนื้อหาสาระและอารมณ์ การมองประสานสายตา ตั้งใจฟัง มีสติและจับประเด็น ใช้การสรุปเป็นช่วงๆ
2.การสะท้อนความรู้สึก ช่วยเหลือสะท้อนอารมณ์ความรู้สึกโดยใช้ภาษาที่เรียบ สงบ ปราศจากการตัดสิน
3.การเงียบ ต้องพิจารณาว่าทางบวกหรือลบ
4.การทวนซ้ำ เป็นการพูดสิ่งที่ผู้รับบริการได้เข้าใจชัดเจนในสิ่งที่เขาต้องการปรึกษาและสื่อความใส่ใจ
การเสริมสร้างทักษะ การเรียนรู้การเสริมสร้าง coping skills ลดความกังวล ช่วยแก้ไขสถานการณ์
วิธีจัดการ การคุยเพื่อให้กำลังใจ พักผ่อนเพียงพอ ทำกิจกรรมที่มีความสุข เลี่ยงสิ่งหมกมุ่น ทำกิจวัตรประจำวันปกติ รับประทานอาหารมีประโยชน์ คลายความเครียด ออกกำลังกาย ฟังเพลง ดูหนัง
กิจกรรมที่ควรเลี่ยง ดื่มสุรา รับประทานอาหารมากหรือน้อยเกิน สูบบุหรี่จัด ทำกิจกรรมที่เสี่ยง ใช้ความเร็ว
4.วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น(Education)
ต1 ตรวจสอบความต้องการ
ไต่ถามข้อมูลและตรวจสอบความต้องการ เพื่อวางแผนสนับสนุนแหล่งข้อมูลการช่วยเหลือด้านสังคม
ต2 เติมเต็มความรู้
ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาการที่เกิดความเครียดและผลกระทบทางจิตใจ พร้อมบอกวิธีการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเครียด
ต3 ติดตามต่อเนื่อง
ร่วมกันวางแผนและหาแนวทางในการรับการช่วยเหลือต่างๆเพิ่มเติม มีการพูดคุยวางแผนร่วมกัน ดูแลติดตามอย่างต่อเนื่อง
ถ้าเป็นพยาบาลในทีม mcatt จะเตรียมตัวเพื่อรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินอย่างไร
ระยะเตรียมการ
เตรียมความพร้อมทั้งความรู้ สิ่งของ อุปกรณ์ต่างๆให้พร้อม
รับฟังนโยบายเพื่อจัดเตรียมโครงการการช่วยเหลือและแผนการต่างๆ
พัฒนาความรู้ของตนเองที่มีอยู่ทั้งหมดมาใช้ให้เกิดประโยชน์
ต้องเรียนรู้การปฐมพยาบาลทั้งด้านจิตใจให้เข้าใจ มีการบำบัดพฤติกรรมความคิดของผู้ประสบภัยวิกฤต
ต้องเข้าใจและพร้อมรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ประสบปัญหาภาวะวิกฤต
ร่วมมือและประสานงานกับเจ้าหน้าที่ทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันถ่วงที
พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อใช้รักษาผู้ประสบภัยวิกฤตได้ถูกต้องและเหมาะสมกับสถานการณ์นั้นๆ
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะวิกฤต (ใน 72 hr.แรก)
เมื่อไปถึงที่เกิดเหตุการณ์แล้วควรประเมินสถานการณ์ว่าปลอดภัยหรือไม่
ให้การช่วยเหลือการพยาบาลด้านร่างกายและจิตใจผู้ประสบภัยภาวะวิกฤต
ให้การช่วยเหลือความต้องการพื้นฐานของผู้ประสบภัยวิกฤต
ระยะฉุกเฉิน (72hr.-2wks.)
สำรวจสถานการณ์ มีการวางแผนว่าจะทำอย่างไรต่อไปกับทีมงาน
ประเมินการคัดกรอง จัดความต้องการที่เร่งด่วนสุดเพื่อทำการรักษาให้รวดเร็วที่สุด