Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูก โครงสร้างกล้ามเนื้อและการพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ…
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูก
โครงสร้างกล้ามเนื้อและการพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Primary survey และ Resuscitation
กระดูกผิดรูป หรือ fracture
ทำการ splint เพื่อลดปวด
พิจารณาให้ O2 หรือ สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
พยาบาลควรทําการ Immobilization
เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตําแหน่งที่ปกติ
การบาดเจ็บกระดูกและข้อ
เกิด Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock
Control bleeding ด้วย Sterile pressure dressing
เสียเลือดจากการบาดเจ็บ
Secondary survey
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสอง
การตรวจร่างกาย
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
ตรวจคร่าวๆ
กระดูกเชิงกรานซี่โครง
โดยให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum
แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
การตรวจกระดูกเชิงกรานให้ออกแรงกดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้างพร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน และกดบริเวณ Pubic symphysis
กระดูกสันหลัง
นอนหงายพลิกตะแคงแบบท่อนซุง คลำตามแนวใกระดูกสันหลัง
กระดูกแขนขา
ยกแขนขาทั้งสองข้าง
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การซักประวัติ
ระยะเวลา
สถานที่
สาเหตุ
การรักษาเบื้องต้น
Definitive care
Retention
เป็นการประคองกระดูกให้คงที่ รอติดธรรมชาติ
Internal fixation
External fixation
Casting Traction
Immobilization
เป็นการประคับประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด เพื่อลดการบาดเจ็บเพิ่มเติมต่อ soft tissue ทําให้การเจ็บปวดลดลง
Rehabilitation
ฟื้นฟูส่วนที่บาดเจ็บและจิตใจ
Reduction
Close reduction
Open reduction
Reconstruction
Recognition
ตรวจกระดูกหัก ข้อเคลื่อน
เพื่อเป็นแนวทางการรักษา
Refer
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Arterial Hemorrhage
ลักษณะ
Hard signs
6Ps
ภาวะ Shock
การช่วยเหลือเบื้องต้น
พยาบาลควรทํา Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
จัดกระดูกและ Splint
Crush Syndrome
อาการที่พบ
Dark urine
Hemoglobin +
Rhabdomyolysis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
Metabolic acidosis
DIC
Hypovolemia
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้ Sodium bicarbonate
ประเมิน Urine output จนกว่าจะใส
ให้ Fluid resuscitation ให้ Osmotic diuretic
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ตรวจร่างกาย
พบกระดูก Pelvic แตก PR examination พบ high-riding prostate gland และมีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
พบ Scrotum และ Perineum บวม มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic
ความดันโลหิตต่ำ
film pelvic AP view
ช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding โดยการทํา Stabilization pelvic ring
จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ํา
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ํา
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ํา
สุขภาพ
การรับประทานอาหาร
Diving reflexes
การมึนเมา
การสูดหายใจก่อนจมน้ำ
อายุ
ความรู้การว่ายน้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
5 น่าที 96 %
10 นาที 90 %
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ
cerebral hypoxia เกิดภาวะสมองบวมตามมา และ
ภาวะ circuratory arrest
ทําให้ cerebral perfusion ลดลง ทําให้สมองขาดเลือด Ischemic brain
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
น้ำเค็ม
ระดับเกลือแร่เพิ่มขึ้น
มักตายเนื่องจากขาดอากาศหายใจ
มากกว่าการเปลี่ยนแปลงของระดับเกลือแร่
น้ำจืด
เกลือแร่ลดลงทำให้หัวใจวาย
เม็ดเลือดแดงแตก
มีภาวะ Pulmonary congestion หรือ edema
การสูดสําลักสารน้ําเข้าไปจะเกิดพยาธิสรีรภาพกับปอดอย่างรุนแรง
Toxicity
Particles และ micro-organism
Tonicity ของสารน้ํา
Hypotonic solution
น้ำจืด ทําให้ surface tension ลดลง เกิดภาวะ Atelectasis เกิดภาวะ hypoxia
Hypertonic solution
น้ำเค็ม เกิดภาวะ hypoxia จากถุงลมปอดแตก เกิด pulmonary damage
ผู้ป่วยไม่สำลักน้ำจะพบภาวะสมองขาดออกซิเจน
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosis จาก เยื่อบุถุงลมอักเสบ , ถุงลมขาด surfactant ,atelectasis, pulmonary edema
น้ําจืดเกิด hyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia
น้ําเค็มเกิด hypernatremia, hyperchloremia, hypermagnesemia
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
อาการ
ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก อาเจียน
ไอมีฟองเลือดเรื่อๆ (ปอด!!)
หมดสติ หัวใจหยุดเต้น
หัวใจเต้นผิดจัวหวะ
ช็อก
การปฐมพยาบาล
ถ้าคลําชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น ให้ทําการนวดหัวใจทันที
ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้ให้นอนตะแคง ห้ามกินอาหาร หาผ้าห่ม
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทําการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
ให้ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกราย เป่าปากตลอดทาง
กรณีที่คนจมน้ํารู้สึกตัวดี สําลักน้ําไม่มาก
ปลอบคลายความตกใจ
ให้ความอบอุ่น
กระตุ้นหายใจลึกๆ
แนะนำไปพบแพทย์
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นภายหลังการจมน้ํา
น้ำจืด
เกลือแร่ในเลือดลดลง
เม็ดเลือดแดงแตก
Hypovelemia
น้ำเค็ม
Hypovolemic
เกลือแร่ในเลือดเพิ่มขึ้น