Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนผังความคิดสรุปการเรียนรู้บทที่ 3.2-3.3, image, image, image, unnamed,…
แผนผังความคิดสรุปการเรียนรู้บทที่ 3.2-3.3
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท
Spinal Cord Injury
สาเหตุ
ตกจากที่สูง
การใช้ความรุนแรง
อุบัติเหตุจราจร
การจำแนกความรุนแรง
Cord contusion
Ischemia condition
Cord transection
Cord concussion
Spinal shock
ส่วนที่อยู่ต่ำกว่ารอยโรคจะหยุดทำงำนชั่วครำว
ไม่พบการทำงำน / reflex พบได้บำดเจ็บไม่รุนแรง
Complete cord injury
Incomplete cord injury
การพยาบาล
การประเมินการหายใจ
ห้ามใช้วิธี head tilt chin lift
การใส่ท่อช่วยหายใจ ต้องไม่ให้แหงน / ก้มคอ
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
การประเมินสภาพ
การตรวจหาการบาดเจ็บส่วนอื่น ๆ
การตรวจช้าอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต จาก Hypovolemic shock / หายใจไม่เพียงพอ
การประเมินสภาพจิตใจ
การตรวจร่างกาย
ขณะตรวจต้องจัดท่าให้ผู้ป่วยอยู่ในแนวตรงเสมอ
การซักประวัติ
การพลิกตัวและการเคลื่อนย้าย
ใช้ผู้ช่วย 3-4 คน
Log roll and lift
ต้องให้แนวกระดูกสันหลังผู้ป่วยตรง
การให้ยา
ท้องอืด ดูแลให้งดน้ำและอาหารทางปาก
ใส่สายสวนคาปัสสาวะไว้
ติดตามเฝ้าระวังการตกเลือด ความรู้สติ สัญญาณชีพ การเต้นของหัวใจ และความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
เตรียมส่งผู้ป่วยตรวจรังส
เตรียมผ่าตัด
เป้าหมาย
การรักษาชีวิต
ป้องกันการทำลายไขสันหลังเพิ่มเติม
Acute Stroke
ชนิด
สมองขาดเลือด (Ischemic Stroke)
จากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke)
จากการอุดตัน (Embolic Stroke)
เลือดออกในสมอง (Hemorrhagic Stroke)
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Aneurysm)
โรคหลอดเลือดสมองผิดปกติ (Arteriovenous Malformation)
ปัจจัยเสี่ยง
เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุมากกว่า 65 ปี
เพศชายเสีี่ยงมากกว่า
ประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง / โรคหลอดเลือดหัวใจ
เปลี่ยนแปลงได้
เกิดจากรูปแบบการดำเนินชีวิต
อาการ
อ่อนแรง / มีอาการอัมพฤกษ์ที่ส่วนใดส่วนหนึ่ง
ชา / สูญเสียความรู้สึกของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด
ปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน / เห็นภาพซ้อน
การพยาบาลเบื้องต้น
การประเมิน
vital signs
พิจารณา Basic life support / Advanced life support
neurological signs
การประเมินระดับความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองตีบ / อุดตัน
รายงานแพทย์
ซักประวัติ
อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
การมองเห็นผิดปกติ
การพูดผิดปกติ
เวียนศีรษะ มีอาการมึนงง บ้านหมุน / เดินเซ เสียการทรงตัว
ปวดศีรษะรุนแรง
ส่งตรวจวินิจฉัยโรคตามแผนการรักษา
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ส่งตรวจ CT brain non contrast
จัดให้มีพยาบาล /เจ้าหน้าที่คัดกรอง / เวรเปล เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องฉุกเฉินโดยเร็ว (ภายใน 3 นาที)
Head Injury
การตายกับการบาดเจ็บที่ศีรษะ
สาเหตุ
IICP
โรคแทรกซ้อนนอกกะโหลกศีรษะ
สมองบาดเจ็บเบื้องต้น
การพยาบาลเบื้องต้น
Mild head injury
ในรายที่หลับตลอดเวลา ควรปลุกตื่นทุก 1-2 ชั่วโมง อย่างน้อย 2 ครั้ง
จัดท่าให้นอนหนุนหมอน 3 ใบ / นอนศีรษะสูง 30 องศา
ให้รับประทานยาแก้ปวด
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่ปรึกษาและเบอร์โทรศัพท์
สังเกตอาการผิดปกติ
อัตราการหายใจเร็ว / ช้าผิดปกต
สายตาพร่ามัว / เห็นภาพซ้อน
เวียนศีรษะ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
บาดแผลบริเวณศีรษะบวมมากขึ้น
ชักเกร็ง / แขนขาอ่อนแรง
มีน้ำหรือเลือดไหลออกทางรูจมูก / รูหู
อาเจียนพุ่ง
สับสน / พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
Moderate head injury
ทำ CT Brain ซ้ำในช่วง 12-24 ชั่วโมงแรก
ทำ CT Brain และ Admit เพื่อสังเกตอาการ Neurological sings
ประเมินสังเกตอาการใกล้ชิด
Severe head injury
วินิจฉัยและส่งทำ CT Brain ทันที
Primary Survey
B. Breathing
ใส่ท่อช่วยหายใจ
ใช้เครื่องช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100 เปอร์เซ็นต์ รักษาระดับ SpO2 มากกว่าร้อยละ 98
การทำ Hyperventilation
ใช้หลักลด PaCO2
ไม่ควรทำ Prolong hyperventilation
ไม่ควรทำ hyperventilation ใน
ผู้ป่วย HI ระยะ 24 ชั่วโมงแรก (CBF น้อยอยู่แล้ว)
ผู้ป่วยที่มี PaCO2 น้อยกว่ำ 25 mm.Hg. (สมองจะขาดเลือด)
C. Circulation
อาการทางระบบประสาทจะเชื่อถือไม่ได้
หลีกเลี่ยงสารละลาย hypotonic : สมองบวม
หลีกเลี่ยงสารละลายที่มีกลูโคส : CBF ลดลง , เกิดการสะสม lactic acid
ควรใช้ Isotonic เช่น Ringer lactate / normal saline
A. Airway with Cervical spine control
ต้องป้องกันกระดูกสันหลังส่วนคอไม่ให้มีกำรเคลื่อนไหว
คอต้องอยู่ในท่า Neutral position
Secondary Survey
ตรวจเท่าที่จำเป็น อย่างรวดเร็ว
ชนิด
ความรุนแรง
Mild head injury
GCS 13-15
Moderate head injury
GCS 9-12
Severe head injury
GCS 3-8
พยาธิสภาพส่วนต่าง ๆ
กลไกการบาดเจ็บ
Blunt injury
Penetrating injury
การพยาบาล
เน้น
รักษาภาวะ Shock
การเคลื่อนย้าย การจัดท่า : อาจมีภาวะกระดูกสันหลังหัก
ระบบหายใจ แก้ไขภาวะ airway obstruction
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
หมดสติทันทีหลังเกิดเหตุหรือไม่
มีอาการชักหลังเกิดเหตุหรือไม่
มีอาการอะไรบ้าง
เกิดเหตุที่ไหน ตั้งแต่เมื่อใด
เกิดขึ้นอย่างไร โดยอะไร
ประเมินภาวะอันตรายที่คุกคามชีวิต
การหายใจ
การไหลเวียนของเลือด
การประเมินอาการทางระบบประสาท
ไม่เร่งด่วน
เร่งด่วน
GCS
CPOMR / Revision Trauma Scale
ประเมินภาวะ Cervical spine injury
ตรวจการหมุนศีรษะได้ไม่เต็มที่ มีสีหน้าแสดงความเจ็บปวด
ในผู้ป่วยหมดสติและไม่แน่ใจว่ามีการหักของกระดูกสันหลังส่วนคอ
ดูลักษณะบำดแผลบริเวณใบหน้า
ความดันโลหิตต่ำ โดยไม่มีภาวะ Shock
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง / กระบังลม
สอบถามการเจ็บปวดบริเวณลำคอ ท้ายทอย
จัดทางเดินหายใจให้โล่ง
ผายปอดโดยใช้ Ambu bag บีบลมเข้าปอด 12-24 ครั้ง / นาที
ห้ามเลือดและช่วยการไหลเวียนเลือดให้เพียงพอ
ความดันโลหิตต่ำลงและ Capillary filling time นานกว่า 2 วินาที
รักษาระดับความดัน Systolic ไม่ต่ำกว่า 90 มม.ปรอท
ให้ Lactate Ringer's solution
มีจำนวนปัสสาวะ 30-50 ซีซี / ชั่วโมง
การป้องกันภาวะสมองบวม
สาเหตุ
การนอนในท่าที่ไม่เหมาะสม
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำในปริมาณที่ถูกต้อง
กาซคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง / ออกซิเจนในเลือดต่ำ
การป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมอง
ควบคุมภาวะชัก , อาเจียน
เตรียมพร้อมผู้ป่วยไปรับการตรวจวินิจฉัยทางรังสี
ให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยหรือญาติใกล้ชิด
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
การพยาบาลเบื้องต้น
Primary survey
B. Breathing
ลักษณะการหายใจเปลี่ยนไป
การหายใจตื้น
พบ Cyanosis : เกิดภาวะ Hypoxia
การหายใจเร็ว
C. Circulation
EKG
A. Airway
พบ subcutaneous emphysema บริเวณคอ
คลำพบ Crepitation ที่ Thyroid cartilage
ภาวะฉุกเฉินรุนแรง
Tissue hypoxia
เกิดการเสียเลือด
Hypercapnia
เกิดภาวะสมองพร่องออกซิเจนและระดับความรู้สึกตัวลดลง
Metabolic acidosis
ลักษณะและอาการแสดง
ผนังทรวงอกทะลุฉีกขาด (Penetrating Chest Wounds)
Tension Pneumothorax
เกิดจากการมีลมรั่วจากปอดข้างที่ได้รับบาดเจ็บ
Massive Hemothorax
เกิดเลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด
Cardiac temponade
เกิดจากเลือดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial sac)
ภาวะอกรวน (Flail Chest)
ประเมิน Fractured Ribs , การหายใจลำบาก และ Paradoxical
กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the Ribs)
ปวดบริเวณที่หัก และหายใจลำบาก
ต้องประเมินภาวะ internal injury และ ภาวะ Shock
การพยาบาล
early interventions
ป้องกัน hypoxia
Immediately life-threatening injuries
กระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา
ก่อนผูกปม ให้ผู้บาดเจ็บหายใจออกให้เต็มที่ก่อน
Flail chest
ใช้หมอนรองบริเวณที่หัก
Penetrating Chest Wounds
ปิดแผลอย่างเร็วที่สุด
ทำการสำรวจขั้นต้น
ดูแลการไหลเวียนเลือด
วัดสัญญาณชีพ
ทางเดินหายใจและการหายใจ
ชื่อ-สกุล นักศึกษา นางสาวเกวลิน กลิ่นชู รหัสนักศึกษา 6001210712 Section A เลขที่ 33