Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, บรรณานุกรรม:กัลยา…
บทที่ 8 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ลักษณะการหายใจ
การหายใจมีปีกจมูกบาน (nasal flaring)
เพื่อช่วยขยายท่อทางเดินหายใจให้โอกาสที่หายใจเข้าเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (retraction)
เสียงหายใจผิดปกติ
crepitation sound เป็นเสียงแตกกระจาย ท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
rhonchi sound การตีบแคบ อาจเกิดจากเสมหะอุดตัน เยื่อบุทางเดินหายใจบวม หลอดลมบีบเกร็งจากภาวะภูมิแพ้
stridor sound เกิดจากตีบแคบของบริเวณกล่องเสียงหรือหลอดลม ได้ยินตอนหายใจเข้าและออก
wheezing เป็นเสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด เกิดจากหลอดลมเล็ก
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
เป็นมูกคล้ายแป้งและหนืดมาก ควรจะต้องมีการประเมินว้าผู้ป่วยได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
เสมหะไม่เหนียว
เป็นเมือกเหลวหนืดน้อยผู้ป่วยไอขับง่าย
Croup
สาเหตุ
การติดเชื้อ
virus
Bacteria H.influenzae ,S.pneumoniae
gr.A Streptococus
อาการ
inspiratory stridor หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้อง Barking cough
ไข้ เจ็บคอ หายใจล าบาก Dyspnea
อาการน้ำลาไหล(drooling)
ไม่ตอบสนองการพ่นยาทั่วไป
Tonsilitis / Pharyngitis
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคที่เรีย ไวรัส เข่นBeta Hemolytic
streptococcus gr. A
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ ตุ่มใส แผลตื้นที่คอหอย
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดการผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy
)
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อสะดวกระบายเสมหะ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ถ้าชีพจร 120 ครั้ง/นาที
ซีดและมีการกลืนอย่างต่อเนื่องแสดงว่ามีเลือดออก
เมื่อรู้สึกตัว ให้จัดท่านั่ง 1-2 ชั่วโมง ให้อมน้ำแข็งก้อนเล็กรับประทานอาหาร
หลังผ่าตัด
1.หลังผ่าตัด 24-48ชั่วโมง หากได้รับประทานอาหารเพียงพอผู้ป่วยจะมีแผลที่ผนังในคอทั้งสิงข้าง
2.ผู้ป่วยอาจจะมีไข้ บวม หรือสึกตึงๆ
3.หลังผ่าตัด 1-2วันแรก
ผนังในคออาจบวมมาก ทำให้หายใจอึดอัด ควรจัดท่านอนศีรษะสูง อมและประคบน้ำแข็งบ่อย
4.หลีกเลี่ยงการแปรงฟันเข้าในช่องปากลึกเกินไปถ้าเลือดออกจากช่องปากควiประคบด้วย cold pack
5.ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่นโจ๊กไม่ควรรับประทานอาหารร้อน หรือเย็นเกินไป
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
เป็นอาการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคที่เรีย ไวรัส เชื้อรา
เกิดการติดเชื้อทำให้เกิดการบวมของเยื่อบุโพรงอากาศส่งผลให้เกิดการอุดตันแล้วเกิดสารคัดหลั่ง
ส่งผลให้เกิดความดันโพรงอากาศเป็นลบ มีอาการจาม
การดูแลรักษา ไซนัสอักเสบ sinusitis
ให้ยา antibiotic ตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ปวดลดไข้
ให้ยาแก้แพ้ ในรายที่ป่วยเป็นไซนัสเรื้อรังที่มีสาเหตุชัก
ให้ยาSteroid เพื่อลดบวม ลดการคั่งของเลือดที่จมูก
การล้างจมูก
การทำความสะอาดโพรงจมูก ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรคและไซนัสสู่ปอด
การล้างจมูกก่อนใช้ยาพ่นจมูก
ล้างจมูกวันละ 2-3ครั้ง ใช้น้ำเกลือ0.9% NSS
หอบหืด Asthma
เป็นภาวะที่มีการอักเสบของเรื้อรังของหลอดลม(Chronic airway inflammation
มีความไวต่อสิ่งกระตุ้น มำให้เกิดพยาธิ 3 อย่าง
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง (Stenosis) เยื่อบุภายในหลอดลมบวมขึ้น
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก (Hypersecretion) ทำให้ช่องทางเดินอากาศหลอดลมแคบลง
อาการโรคหอบหืด Asthma
หวัด ไอ มีเสมหะ มักเสียงWheezing หอบมาก ปากซีดเขียว ใจสั่น
ผู้ป่วยเด็กบางราย มีอากการไออย่างเดียว มักมีอาการอาเจียนร่วมด้วย
บางรายอาจไดรับยาพ่นกลุ่มCorticosteroids ได้แก่ Flixotide Evohaler (Fluticasone propionate250 microgram) Serotide ต้องดูแลให้บ้วนปากหลัง พ่นยาทุกครั้งเพื่อป้องกันเชื้อราในปาก
การรักษา
ยาขยายหลอดลม ( Relievers
) ยาชนิดพ่นจะเห็นผลเร็วช่วยทางเดินหายใจขึ้น
ยาลดการบวม
และการอักเสบของหลอดลม (Steroid ) ควรใช้ระยะสั้น 3-5 วัน
หลอดลมอักเสบ( Bronchitis) หลอดลมฝอยอักเสบ(Bronchiolitis)
กลไกการเกิด
เชื้อไวรัส ทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอยทำให้เกิดอาการอักเสบ บวม และมีการคั่งของเสมหะ เกิดการอุดกั้นของหลอดลมฝอยผลทีตามมาคือ เกิด Atelectasis
อาการเริ่ม
ไข้หวัดเล็กน้อย มีน้ำมูกใส จาม เบื่ออาหาร ร้องกวน หายใจเร็ว หอบ หายใจมี ปีกจมูกบาน ดูดนมได้น้อย
การรักษา
ตามอาการ ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาต้านการอักเสบ(Corticosteroid ) ยาขยายหลอดลม
การดูแล
ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ ได้รับน้ำ
การดูแล
ปัญหาการติดเชื้อ ดูแลให้งสร้างเสริมภูมิต้านทานให้อาหารที่มีประโยชน์
ปอดบวม Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ แบคทีเรีย ไวรัส
อาการ
ไข้ ไอ หอบ ดูดนมน้อย ซึม
การรักษา
ดูแลให้ไดรับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้เสมหะอ่อนตัวและขับง่าย
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction
ดูแลแก้ไขปํญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยาหลอดลม ยาขับเสหะ ยาฆ่าเชื้อ
บรรณานุกรรม:กัลยา ศรีมหันต์. (2563). การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ.สืบค้น 9 มิถุนายน2563.
จาก:
https://classroom.google.com/u/0/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
นางสาว ดลยา แก้วเกร็ด 36/2 เลขที่11