Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจเเละหลอดเลือดเเละระบบทางเดินอาหาร -…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจเเละหลอดเลือดเเละระบบทางเดินอาหาร
Acute MI
โรคหัวใจขาดเลือด (Ischemicheart disease, IHD)
โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดง ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตันจากไขมัน
เยื่อบุผนังหลอดเลือดชั้นในตําแหน่งนั้นหนาตัวขึ้นทำให้หลอดเลือดตีบ
อาการ
อาการเจ็บเค้นอก ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
แบ่งกลุ่มอาการทางคลินิกได้2 กลุ่ม
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (Stable angina) มีอาการเจ็บเค้นอกเป็นๆหายๆ อาการไม่รุนเเรง ระยะครั้งละ 3-5 นาที โดยพักหรืออมยาขยายเส้นเลือดหัวใจเป็นมานานกว่า 2 เดือน
ภาวะหัวใจขาดเลือด
เฉียบพลัน (Acute coronary syndrome)
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน หรือเจ็บขณะพัก (Rest angina) นานกว่า 20 นาที
Non ST elevation acute coronary syndrome
ไม่พบ ST segment elevation มักพบลักษณะของคลื่น ไฟฟ้าหัวใจเป็น ST segment depression และ/หรือ T wave inversion นานกว่า 30 นาที
ST elevation acute coronary syndrome
ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 2 leads
อาการสำคัญ
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
อาการเหนื่อยขณะออกกําลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน 1–2สัปดาห์
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
อาการเหนื่อย หายใจหอบ นอนราบไม่ได้แน่นอึดอัด หายใจเข้าไม่เต็มปอดอาจมีอาการเจ็บเค้นอก
ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง มีภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นๆ หายๆ มาเป็นเวลานานส่วน เคยเป็นกล้ามเนื้อหัวใจ เกิดจากหัวใจล้มเหลวทั้งซีกซ้าย และซีกขวา
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก อาการเจ็บแน่นหรืออึดอัดบริเวณหน้าอก หรือปวดเมื่อย หัวไหล่หรือปวดกราม หรือจุกบริเวณลิ้นปี่ เป็นมากขณะออกกําลัง นั่งพักหรืออมยา nitroglycerin อาการจะทุเลาลง
วินิจฉัยโรค
ดูลักษณะคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย
การตรวจ cardiac imaging
ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกรุนแรงติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่า 20 นาทีหรือ อมยาใต้ลิ้นแล้วไม่ได้ผล => ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ตรวจ Cardiac markers ให้การรักษาเบื้องต้นเเละรักษาเฉพาะทาง
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ํา
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันควรตรวจ troponin และ cardiac enzyme
ตรวจ troponin ได้ผลลบติดต่อกัน 2ครั้งห่างกัน 4ชั่วโมง
การวินิจฉัยโรคหัวใจขาดเลือดเช่น การฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ (coronary angiography)
การรักษา
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, O2 saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้ Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืน
ให้ Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น ซ้ำได้ทุก 5 นาที สูงสุดไม่เกิน 3 เม็ด
ถ้าผู้ป่วยเคยได้รับยาอยู่แล้ว ให้ใช้ยาที่ได้รับจากแพทย์
หลังได้ยาอมใต้ลิ้นไม่ดีขึ้น พิจารณาให้ยาแก้ปวด Morphine 3-5 mg
เตรียมพร้อมสําหรับภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
นําส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ําเฉียบพลัน
ความดันโลหิตลดต่ำลงจนเกิดอาการ หน้ามืด เวียนศีรษะเป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
เกิดอาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน จนอาจถึงขั้นเสียชีวิตถ้าไม่ได้รับการกู้ชีพทันท่วงทีประมาณ
การวินิจฉัย
ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจรวมทั้งคลื่นไฟฟ้าหัวใจในสถาน
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ชนิด 12 lead
ควรพิจารณาส่งผู้ป่วย เพื่อตรวจสืบค้นเพิ่มเติมการตรวจหัวใจด้วย คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง การสวนหัวใจ
คิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในผู้ที่มีอาการหมดสติชั่วคราว (syncope) วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคจากการซักประวัติและตรวจ ร่างกายอย่างละเอียด บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง(Holter’s monitoring)
การรักษา
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก
ต้องทําการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
ควรพิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว (temporary pacemaker)
ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก
บทบาทของพยาบาล 9 ประการ
1.ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว ซักประวัติที่กระชับได้ ข้อมูลครบถ้วน
หลัก OPQRST
Q: Quality ลักษณะของ อาการเจ็บอก
R: Refer pain สำหรับอาการเจ็บร้าว
P: Precipitate cause สาเหตุชักนําและการทุเลา
S: Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บแน่นอก
O: Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
T: Time ระยะเวลาที่เป็น หรือเวลาที่เกิดอาการที่ปวดนานกี่นาที
ประสานงาน ให้การดูแลแบบช่องทางด่วนพิเศษ
ACS fast track โดยใช้ clinical pathway หรือ care map
ให้ออกซิเจน เมื่อมีภาวะ hypoxemia (SaO2 < 90% or PaO2 < 60 mmHg) จะทําให้เกิด vasospasm และ myocardia injury มากขึ้น
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจทันที
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตต่าติดตามประเมิน สัญญาณชีพ และ EKG monitoring สังเกตอาการเหงื่อแตก ตัวเย็น ซีดเขียว ปัสสาวะ
การพยาบาลกรณี EKG show ST elevation หรือพบ LBBB ที่เกิดขึ้นใหม่ โดยแพทย์จะเลือกวิธีการรักษาโดยทํา Primary PCI เป็นอันดับแรก refer ส่งไปทํา โดยให้พิจารณาระยะเวลาในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยถึงจุดหมายไม่เกิน 120
7.พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
Pulmonary embolism (PE)
กลไกเกิดลิ่มเลือดมี 3 ปัจจัย
มีความผิดปกติของเลือด ที่ทําให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย (hypercoagulable states)
มีผนังหลอดเลือดดําที่ผิดปกติเกิดจากมีlocal trauma หรือมีการอักเสบ
การไหลเวียน ของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว (immobilization) เป็นเวลานาน
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มีโรคมะเร็ง
deep vein thrombosis (DVT) หรือ PE มาก่อน
immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้estrogen
ประวัติครอบครัวเป็น DVT หรือ PE
กระดูกหักบริเวณขาใน 12 สัปดาห์ที่ผ่านนมา ภาวะ hypercoagulability
อาการแสดงทางคลินิก
หัวใจเต้นเร็ว
มีหลอดเลือดดําที่คอโป่ง
hypoxemia
ฟังปอดฟังได้เสียงวี๊ด (wheezing)
แน่นหน้าอก (pleuritic pain)
มีความดันต่ำ ช็อก
อาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น
อาการเขียวคล้ำ
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
โดยใช้ wells scoring system
ถ้าคะแนนมากกว่า 6 ขึ้นไป โอกาสที่จะเป็น PE จะสูงมาก
chest X-ray
มีปริมาณหลอดเลือดลดลง (regional hypo-perfusion) หรือมี infiltration ที่บริเวณปอด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12 leads-ECG)
หัวใจเต้นเร็ว (sinus tachycardia)
T-inversion ใน lead III
right bundle branch block (CRBBB)
คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (echocardiography)
ความดันในปอดสูง (pulmonary hypertension)
right ventricular dysfunction
การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas, ABG)
มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ํา
alveolar-arterial
oxygen gradient กว้าง
การรักษา
Thrombolytic therapy
Caval filter
Anticoagulation
ให้Anticoagulation ให้ heparin ให้ Coumadin ประมาณ 3 เดือน
ระบบทางเดินอาหาร
ชนิดการบาดเจ็บช่องท้อง
Blunt injury เกิดจากอุบัติเหตุรถชน หรือตกจากที่สูง
อวัยวะที่พบได้บ่อยได้แก่ การบาดเจ็บของตับ ม้าม วินิจฉัยยาก
ต้องตรวจติดตามอาการของผู้ป่วยเป็นระยะ
Penetrating trauma เกิดจากของมีคมทะลุเป็นแผลนั้น
Gun short wound ส่วนในรายที่มีบาดแผลบริเวณหลังอาจทําการวินิจฉัยก่อนผ่าตัด Stab wound หากพบ
วัตถุคาอยู่อย่าดึงออก
ลักษณะเเละอาการเเสดง
อาการปวด
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้องเป็นอาการแสดง
ทราบถึงการตกเลือด และมีอวัยวะภายในบาดเจ็บ ประเมินค่อนข้างยาก
อาการท้องอืด
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลําไส้
เกิดภาวะช็อก
Blunt abdominal trauma
สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการ ควรเฝ้าระวังติดตามอย่างใกล้ชิด
สัญญาณชีพคงที่ กล้ามเนื้อหน้าท้องหดเกร็ง ท้องอืด
ผู้ป่วยที่มีอาการหนักมาก Shock ท้องอืด
มีเลือดออกในช่องท้องจํานวนมาก ต้องได้รับการ
ผ่าตัดทันที
หากกลับบ้านต้องเเน่ใจว่าผู้ป่วยไม่มีการบาดเจ็บในช่องท้อง
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate) ได้เเก่ หลอดอาหาร ลำไส้ กระเพาะอาหารทำให้มีการรั่วของอาหาร อาการ ปวดรุนเเรงมาก ปวดทั่วท้อง กล้ามเนื้อทั่วท้องจะเกร็ง ปวดมากเมื่อเคลื่อนไหว
ภาวะเลือดออก => Hypovolemic shock เสียเลือดเกินร้อยละ 20 - 30%
1.Primary survey ไม่ควรใช้เวลาเกิน 1 นาที
1.Airway
2.Breathing
3.Circulating
4.Disability
5.Exposure
3.Secondary survey เป็นการตรวจอย่างละเอียด (head to toe)
ว่ามีการบาดเจ็บที่ใดบ้าง
2.Resuscitation เป็นการแก้ไขภาวะที่พบในภาวะ primary survey
4.Definitive car จัดลําดับความสําคัญของ safe
life เป็นอันดับแรกเมื่อรอดชีวิตแล้ว safe organ ต่อมา safe function
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บช่องท้อง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
กําจัดสาเหตุที่ทําให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ
ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
ใส่NG Tube บันทึก สี ลักษณะ จํานวน
ช่วยแพทย์เจาะท้อง
เจาะเลือดส่งตรวจ Hct , Hb , plt เเละหมู่เลือด
ใส่สายสวนปัสสวาะ จำนวนปัสสาวะไม่น้อยกว่า 0.5 - 1 cc/kg/hr
บรรเทาความเจ็บปวด
ป้องกันภาวะช็อคให้ได้รับสารน้ำทดเเทน
ลดความวิตกกังวลของครอบครัวเเละญาติ
การเฝ้าระวังการประเมินเบื้องต้นคือ
ระบบประสาท กลางได้แก่ระดับความรู้สึกตัว ระบบผิวหนังและเยื่อเมือก ระบบสูบฉีดโลหิตและไต
บาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ
ถูกต่อย
ถูกยิง
ถูกเตะ
ถูกเเทง
รถชน
การบาดเจ็บ
การบาดเจ็บจากการกระแทกหรือแรงอัด
การบาดเจ็บจากการทิ่มเเทง
การบาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะประกอบด้วย
หลอดปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ
หลอดไต
ไต