Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6.1 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Coggle…
บทที่6.1 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
การคลอดยาก
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของแรง ( abnormality of the powers)
2.ความผิดปกติของหนทางคลอด ( abnormality of the passage)
3.ความผิดปกติของทารก ( abnormality involving the passenger)
การแบ่งลักษณะการคลอดยาก
1.Prolongation disorder ความผิดปกติเนื่องจาก Latent phase ยาวนาน ในครรภ์แรกระยะ latent phase ยาวนานกว่า 20 ชั่วโมง หรือในครรภ์หลังระยะ latent phase ยาวนานกว่า 14 ชั่วโมง
2.Protraction disorder ความผิดปกติเนื่องจากการเปิดขยายของปากมดลูกล่าช้า หรือการเคลื่อนต่าของศีรษะทารกในระยะ active phase
2.1 Protracted active phase dilatation การเปิดขยายของปากมดลูกช้ากว่า 1.2 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์แรก และช้ากว่า 1.5
2.2 Protracted descent การที่ส่วนนาของศีรษะทารกเคลื่อนต่าลงช้ากว่า 1 เซนติเมตร ต่อ 1 ชั่วโมงในครรภ์แรก และช้ากว่า 2 เซนติเมตร ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
3.Arrest disorders ความผิดปกติเนื่องจากปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อไปหรือส่วนนาของทารกไม่เคลื่อนต่าต่อไป
3.1 Prolonged deceleration phase การที่ระยะ Deceleration phase (นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 9 เซนติเมตร ถึง 10 เซนติเมตร) นานกว่า 3 ชั่วโมง ในครรภ์แรก และนานกว่า 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
3.2 Secondary arrest of dilatation การที่ปากมดลูกไม่เปิดขยายอีกต่อไปนานเกินกว่า 2 ชั่วโมง ในระยะ phase of maximum slope
3.3 Arrest of descent การที่ส่วนนาของทารกไม่เคลื่อนต่าลงมาอีกเลยนานกว่า 1 ชั่วโมง ในระยะที่ปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตรไปแล้ว
3.4 Failure of descent การที่ไม่มีการเคลื่อนต่าของส่วนนาของทารกลงมาเลยในระยะ Deceleration phase หรือในระยะที่ 2 ของการคลอด
อันตราย
ต่อผู้คลอด
1.การติดเชื้อ(infection)จากการตรวจทางช่องคลอด และทางทวารหนักบ่อย หรือในรายที่ถุงน้าทูนหัวแตก
2.ผู้คลอดเหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง (maternal distress)
3.ฝีเย็บบวม และฉีกขาดได้ง่าย เนื่องจากถูกกดอยู่เป็นเวลานานหรือจากการทาหัตถการ
4.เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการทาสูติศาสตร์หัตถการต่าง ๆ
5.ตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกมีการยืดขยายนานทาให้มดลูกอ่อนล้าจนเกิด uterine atony
6.พื้นเชิงกรานยืดขยายเป็นเวลานาน ทาให้มดลูกเคลื่อนต่า ผนังช่องคลอดหย่อนและกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ภายหลังได้
ต่อทารก
1.ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ (fetal distress)ซึ่งเป็นสาเหตุของการตายคลอด (stillbirth) หรือเสียชีวิตหลังคลอด (neonatal death)
2.ติดเชื้อ เมื่อผู้คลอดติดเชื้อโดยเฉพาะ chorioamnionitis ทารกในครรภ์จะติดเชื้อจากผู้คลอดได้ ที่สาคัญคือ pneumonia, gastroenteritis, sepsis, การติดเชื้อบริเวณสะดือ ตา หู
3.อันตรายจากการคลอด ศีรษะทารกจะมีการเกยกันอย่างมาก
การประเมินสภาพ
แรง (power)
Hypertonic uterine dysfunction
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
ขนาดของทารกและช่องเชิงกรานของผู้คลอดไม่ได้สัดส่วน
ส่วนนาของทารกผิดปกติ (Malpresentation) หรืออยู่ในท่าผิดปกติ (Malposition)
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี
Hypotonic uterine dysfunction
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
การได้รับยาแก้ปวดหรือยาระงับความรู้สึกมากเกินไป หรือได้รับก่อนเวลาอันควร
มดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติ ในรายตั้งครรภ์แฝด หรือแฝดน้า
มีความผิดปกติของมดลูก เช่น double uterus, myoma uteri
ขาดการกระตุ้นที่ปากมดลูก พบได้ในรายที่มีส่วนนาไม่กระชับกับปากมดลูก หรือพื้นเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะหรืออุจจาระเต็ม
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
การรักษา
1.การให้สารน้าที่เพียงพอเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้าของผู้คลอด
2.ตรวจดูว่ามีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะจนเต็มหรือไม่ ถ้ามีควรสวนออกเพราะอาจทาให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีพอได้
3.ให้ยาระงับปวดในขนาดที่เพียงพอและเหมาะสม
4.ให้การประคับประคองจิตใจ ให้กาลังใจเพื่อให้คลายความกลัวและวิตกกังวล
5.ประเมินและตรวจให้แน่ชัดว่าไม่มีการผิดสัดส่วนระหว่างขนาดของทารกและช่องเชิงกราน มิฉะนั้นอาจเกิดอันตราย เช่น มดลูกแตกได้ ถ้าผู้คลอดได้ oxytocin เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
6.ถ้าถุงน้าคร่ายังไม่แตกหรือรั่ว ควรเจาะถุงน้าคร่าเพราะจะช่วยให้การหดรัดตัวของมดลูกดีขึ้น
การพยาบาลผู้คลอดที่มีการหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดภาวะมดลูกแตกเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัวมากกว่าปกติ
มีโอกาสเกิดการคลอดยาวนานเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
ทารกมีโอกาสเกิดภาวะการขาดออกซิเจนเนื่องจากมดลูกมีการหดรัดตัวมากและรุนแรง
การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติของแรงเบ่ง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีโอกาสเกิดการคลอดล่าช้าในระยะที่สองของการคลอด เนื่องจากผู้คลอดเหนื่อยล้ามากและเบ่งไม่ถูกวิธี
การประเมินสภาพ
ความผิดปกติเนื่องจากกระดูกเชิงกรานแคบหรือผิดสัดส่วน(pelvic contraction)
ความผิดปกติของอวัยวะสืบพันธุ์