Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการไม่พึงประสงค์และการจัดการอาการโรคมะเร็ง และ ภาวะแทรกซ้อนในเด็กโรคมะเร…
อาการไม่พึงประสงค์และการจัดการอาการโรคมะเร็ง และ ภาวะแทรกซ้อนในเด็กโรคมะเร็งและการดูแล
อาการไม่พึงประสงค์และการจัดการอาการโรคมะเร็ง
ไข้
ให้ยาลดไข้
ทำความสะอาดร่างกาย ปากฟัน
ดื่มน้ำบ่อยๆ
พักผ่อนให้เพียงพอ
เช็ดตัวลดไข้
หลีกเหลี่ยงชุมชนแออัด
ประเมินการติดเชื้อ
ปวด
ประเมินอาการปวด
ให้ได้รับยา
จัดกิจกรรมเบี่ยงเบนความสนใจ
เยื่อบุช่องปากอักเสบ
ใช้ครีมทาปากถ้าปากแห้ง
รับประทานอาหารอ่อนๆรสไม่เผ็ด
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงภายในช่องปาก
กลั้วคอด้วยน้ำยาบ้วนปากชนิดอ่อนๆ
ทำความสะอาดฟันด้วยขนแปรงอ่อนนุ่ม
ดื่มน้ำเยอะๆ
คลื่นไส้อาเจียน
จัดกิจกรรมเบี่ยงเบนความสนใจ
ให้ได้รับการนอนหลับ
ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย หลีกเหลี่ยงอาหารมัน
ให้ยาหอม ยาดม
ให้รับประทานอาหารแห้งๆ เช่น ขนมปังกรอบ รองท้องก่อนได้เคมีบำบัด
ให้กำลังใจ
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า
จัดกิจกรรมที่อยู่กับที่
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมดูแล
ให้นอนหลับเต็มที่กลางคืน มีช่วงงีบในกลางวัน
บำบัดเสริม เช่น การสร้างจินตนาการ การบำบัดเสริม
ท้องผูก ท้องเสีย
ท้องผูก
ดื่มน้ำเยอะๆ
ฝึกหัดขับถ่ายอุจจาระ
รับประทานอาหารกากใยสูง
ท้องเสีย
ดื่มน้ำเกลือแร่
รักษาความสะอาดร่างกาย และอาหาร
ให้ยาปฏิชีวนะ
เบื่ออาหาร
ลดการปากแห้ง
รับประทานอาหารอ่อน
ลดการคลื่นไส้ อาเจียน
เพิ่มความเข้มข้นของรส
รับประทานอาหารที่มีกลิ่นหอม
อาหารอุ่นๆ
รักษาความสะอาดช่องปากฟัน
ผมร่วง
ไม่สระผมบ่อยเกินไป
หลีกเหลี่ยงการถูกแสงแดด
ใช้ขนแปรงอ่อนนุ่ม
ใส่วิกผม
ตัดผมให้สั้น
แนะนำการงอกใหม่ของผม 2-3 เดือนหลังได้ยาเคมีบำบัด
ภาวะแทรกซ้อนในเด็กโรคมะเร็งและการดูแล
ภาวะ Superior vena cava syndrome (SVCS)
กลุมอาการที่เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนจาก superior vena cava เข้าสู่ right atrium
หลอดเลือดดำใหญ่ถูกกด เลือดดำกลับสู่หัวใจไม่สะดวก
ความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น
หน้าบวม แดง หรือเขียว ลำคอและแขน
หลอดเลือดดำที่คอและทรวงอกโป่งพอง
อาการทางประสาท ปวดศีรษะ ตามองไม่ชัด ระดับการรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
การดูแล
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
Pleural
effusion, infection, atelectasis
ประเมินอาการหายใจลำบาก หายใจมีเสียง แน่นหน้าอก มีไข้ แขนบวม หน้าแดง เส้นเลือดที่คอโป่ง สัญญาณชีพผิดปกติ
ป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน
จัดท่านอนศีรษะสูงประมาณ30-45 องศา (bed rest with upper body elevation) ช่วยลด Venous pressure
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
(Supplement oxygen) อย่างเพียงพอ
ประเมิน O2 Saturation, Keep O2 saturation > 95%, Capillary refill time < กว่า 2 วินาที
ระดับความรู้สึกตัว (Level
of conscious)
ประเมินอาการ Cyanosis, ตัวซีดเย็น
ประเมินและติดตามการเปลี่ยนแปลงสัญญาณชีพอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับยา corticosteroid ตามแผนการ
รักษาเพื่อช่วยลดภาวะ laryngeal edema
เฝ้าระวังภาวะ Upper Airway Obstruction เช่น เสียง Stridor
ประเมินและเฝ้าระวังอาการที่เกิดจากการกระจายตัวของมะเร็งไปยังอวัยวะต่างๆ ได้แก่ สมอง กระดูก ตับ
อาการปวดศีรษะ ซึม ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ตามัวระดับแคลเซียมในเลือดที่สูงขึ้น ปวดกระดูก
ภาวะ Acute Tumor lysis syndrome
การใหสารน้ำ
ให้สารน้ำปริมาณมาก ประมาณ 3 ลิตรต่อหนึ่งตารางเมตรของพื้นที่ผิวในหนึ่งวัน ช่วยเพิ่มปริมาตรสารน้ำในหลอดเลือด มีผลทำให้ลดความเข้มข้นของโพแทสเซียม ฟอสเฟต และกรดยูริกในเลือด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
ให้แคลเซียมกลูโคเนต ทางหลอดเลือดดำ เพื่อป้องกันการเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
รับประทานยาที่สามารถจับกับฟอสเฟต หรือเว้นการให้สารละลายที่มีส่วนประกอบของฟอสเฟส
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ
ภาวะนี้จะดีขึ้นหลังจากรักษา TLS ให้ดีขึ้น
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง
ยาลดกรดยูริก คือ Allopurinol และ Rasburicase
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ควบคุมปริมาณสารน้ำที่เข้าและออกจากร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุล
ควบคุมระดับกรดยูริกและฟอสเฟต เพื่อไม่ให้
เกิดการตกผลึกของกรดยูริกและแคลเซียมฟอสเฟตในท่อไต
ปรับขนาดยาที่ผู้ป่วยได้ร้บตามค่าการทำงานของไต และหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีพิษต่อไต
Febrile pneutropenia
ควรวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงถ้าพบว่ามีไข้ 38 องศาเซลเซียส ขึ้นไปรีบรายงานแพทย์ทันที
ถ้าพบ gr.1หรือgr.2รายงานแพทย์ และจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกรวม
ถ้าพบ gr.3 หรือ gr.4 รายงานแพทย์ทันทีและจัดผู้ป่วยไว้ห้องแยกเดี่ยว
Stat dose ATB ภายใน 15- 30 นาที กรณี Febrile neutropenia
Septic work up
ติดตามเฝ้าระวังภาวะ Pre sepsis sign
จัดเตรียม น้ำยาบ้วนปากให้ผู้ป่วย (0.9%NSS)
จัดเตรียม น้ำดื่มที่ปราศจากเชื้อ
ตรวจร่างกายอย่างละเอียดวันละ 2 ครั้ง
เยื่อบุในช่องปาก ผิวหนัง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อแต่ละระบบ
นางสาวยุพเรศ บุญคงแก้ว 612601050