Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อ 5.4 ความผิดปกติของการหายใจ, shutterstock_1624763533-696x392, big,…
หัวข้อ 5.4 ความผิดปกติของการหายใจ
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคของระบบทางเดินหายใจ
กระบังลมจะถูกมดลูกดันให้เลื่อนสูงขึ้น 4 cm
ทรวงอกมีการขยายทางด้านกลางเส้นผ่านศุูนย์กลางทรวงอก 2 cm เส้นรอบวงเพิ่ม 6 cm
อายุครรภ์ 24 wks จะเปลี่ยนจากการใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องเป็นกล้ามเนื้อหน้าอก Total body oxygen consumption เพิ่ม 20%
โปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้น
ตอบสนองcentral chemoreceptor ไวขึ้น อัตราการหายใจเพิ่มขึ้นCO2 เพิ่มขึ้น PCO2 ในหลอดเลือดแดงลดลง
ขับ bicarbonate ทางไตเพิ่ม เกิด respiratory alkalosis ขับปัสสาวะมากขึ้น ระดับของ PCO2และ pH จึงจะปกติ
หอบหืดในหญิงตั้งครรภ์
อาการและ
อาการแสดง
ไอเรื้อรัง (มากกว่า 8 สัปดาห์)
หายใจลำบากหรือแน่นหน้าอก
หายใจมี
เสียง wheezing
การหายใจออกลำบากกว่าการหายใจเข้าใช้กล้ามเนื้อที่คอและไหล่ในการช่วยหายใจ
หายใจเร็ว
มากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาท
เหงื่อออกมาก
การวินิจฉัย
1.จากการซักประวัติ อาการและอาการแสดง
2.การตรวจร่างกาย จะได้ยินเสียง wheezing หรือ rhonchi ที่ปอดทั้ง2ข้าง
3.ตรวจเสมหะยอมเชื้อ ตรวจเอกซ์เรย์ทรวงอก
ผลกระทบ
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ด้านมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(preeclampsia)
ตกเลือด
asthmatic attack)
ด้านมารก
คลอดก่อนกกำหนด
low birth weight
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ตายปริกำเนิด
ทารกพิการแต่กำเนิด
พร่องออกซิเจน
ีโอกาสเป็นโรคหอบหืดได้รอยละ 50 จากการถายถอดทางพันธุกรรม
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
ช่วงแรกของการตั้งครรภ์
หัวใจทำๆงานหนักขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำหนักตัวและน้ำในร่างกายเพิ่มขึ้น จะพบหายใจลำบาก
ช่วงหลังการตั้งครรภ์
จะมีปริมาตรอากาศเหลือค้างในปอด ทำให้เนื้อปอดบางส่วน แลกเปลี่ยนก๊าซได้ไม้สมบูรณ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ฝากครรภ์ตามนัด
หลีกเลี่ยงอากาศเย็นหรือร้อน
รับประทานยาตามแผนการรักษา
นับและบันทึกลูกดิ้น
รับประทานอาหารเน้นโปรตีน
ระยะคลอด
จัดท่านอนศรีษะสูง
ดูแลให้ออกซิเจนเมื่อหอบ
รับยาตามแผนการรักษา
ประเมินลักษณะการหายใจ ชีพจร สีเล็บ
ระยะหลังคลอด
ได้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง
เน้นการป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ
อาการและอาการแสดง
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3 สัปดาห์
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำนักตัวค่อยๆลดลงซีด
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
ประเภทของการติดเชื้อวัณโรค
ผู้ที่น่าจะเป็นวัณโรค (presumptive TB) ไอทุกวันเกิน 2 สัปดาห์ ไอเป็นเลือด น้ำหนักลดผิดปกติ มีไข้ เหงื่อออกมากผิดปกติตอนกลางคืน
ผู้ติดเชื้อวัณโรคระยะแฝง (latent TB infection)ผู้ที่ติดเชื ้อวัณโรคแฝงอยู่ในร่างกาย แต่ร่างกายมีภูมิคุ้มกัน
ผู้ป่วยวัณโรค หรือวัณโรคระยะแสดงอาการ (TB disease หรือ Active TB)
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติอาการและอาการแสดง
Tuberculin skin test ซึ่งวิธีนี้ไม่แนะนำให้ใช้ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร
3.ตรวจเอกซ์เรย์ปอด
4.การส่งตรวจเสมหะ
acid fast bacilli staining
Culture for mycobacterium tuberculosis
Polymerase chain reaction (PCR)
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
แท้งเอง การคลอดก่อนกำหนด ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ต่อทารก
การเสียชีวิตในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด ทารกน้ำหนักตัวน้อย ภาวะพร่องออกซิเจนแต่กำเนิด ทารกติดเชื้อวัณโรคแต่กำเนิด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
-แนะน ารับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ ใช้ยาสูตร 2HRZE/4HR
-แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข่ เพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็ก
-งดเว้นสิ่งเสพติด
-จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
-สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจาม รดผู้อื่น
ฝากครรภ์ตามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ
ระยะคลอด
-ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
-ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
ดแยกทารกออกจากมารดาจนกระทั้งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
-ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INHและ rifampicin ทันทีหลังคลอด
-ทารกได้รับการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจาบหลังคลอด
โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid-19)
เนื่องจากเชื้อเป็นไวรัสชนิดใหม่ยังไม่มีข้อมูลว่าหญิงตั้งครรภ์มีโอกาสติดเชื้อ COVID-19 มากกว่าคนทั่วไป
หรือไม่ เพศหญิงมีโอกาสเป็นโรคเท่าๆกับเพศชาย
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ
(กลุ่มที่ไม่ติดเชื้อ)
ใช้หลักการป้องกันการแพร่ระบาด
➢หลีกเลี่ยงการสัมผัส
➢รักษาระยะห่าง
➢เลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
➢รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
➢งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
➢ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาดนานอย่างน้อย 20 วินาที ทุกครั้งที่มีการไอจาม สัมผัสสิ่งแปลกปลอม ก่อน รับประทานอาหาร หรือออกจากห้องน้ำ หากไม่มีสบู่ ให้ใช้ 7๐% alcohol gel
➢ถ้ามีอาการไข้ไอเจ็บคอ หายใจเหนื่อยรีบไปพบแพทย์
➢ฝากครรภ์ตามนัด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
➢ แยกกังตัวสังเกตอาการ 14วัน
➢งดออกชุมชน
➢พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์ หากอยู่ในกำหนดกักตัว
➢ กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และ
แจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
การรักษาด้วยยา Favipiravir (200 mg/tab) วันที่ 1: 8 เม็ด วันละ 2 ครั้ง วันที่ 2-10: 3 เม็ด วันละ 2 ครั้งมีโอกาสเกิด teratogenic effect ควรระวังการใช้ในหญิงมีครรภ์
➢กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบว่าตนเองตนเองอยู่ระหว่างการเฝ้า ระวัง 14 วัน
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อหรือติดเชื้อ COVID 19
ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม
2.แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14วัน
3.อธิบายถึงความเสี่ยง ความจำเป็นและประโยชน์ของการแยกมารดา-ลูก และการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาให้มารดาเข้าใจและเป็นผู้ตัดสินใจเอง
4.เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรัส ผ่านทางน้ำนม ดังนั้นทารกจึงสามารถกินนมมารดาได้ โดยปฏิบัติตามแนวทางป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดา
กรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยว่าจะติดเชื้อ หรือ
มารดาที่ติดเชื้อ COVID-19 แต่อาการไม่มาก
สามารถกอดลูกและให้นมจากเต้าได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของมารดาและครอบครัว
ต้องปฏิบัติตามแนวทางป้องกันการติดเชื้ออย่างเคร่งครัด
กรณีมารดาที่ติดเชื้อ COVID-19 มีอาการรุนแรง
หากยังสามารถบีบน้ำนมได้ ให้ใช้วิธีบีบ
น้ำนมและให้ ผู้ช่วยเป็นผู้ป้อนนมแก่ลูก หากไม่สามารถบีบน้ำนมเองได้ อาจพิจารณาใช้นมผงแทน
ข้อปฏิบัติในกรณีให้ทารกกินนมจากเต้า
อาบน้ำหรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านมและหัวนมด้วยน้ำและสบู่
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและ สบู่ นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการให้นมลูก
งดการสัมผัสบริเวณใบหน้าของตนเองและทารก เช่น การหอมแก้มทารก
ข้อปฏิบัติในการบีบน้ำนมและการป้อนนม
1.อาบน ้าหรือเช็ดท าความสะอาดบริเวณเต้าน
2.ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและ สบู่ นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70%ขึ้นไป
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดการทำกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเตรียมนม การบีบน้ำนม และการให้นม
งดการสัมผัสบริเวณใบหน้าของตนเองและทารก เช่น การหอมแก้มทารก
หาผู้ช่วยเหลือหรือญาติที่มีสุขภาพแข็งแรงที่ทราบวิธีการป้อนนมที่ถูกต้องงและต้องปฏิบัติตามวิธีการ
ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์เช่น ที่ปั๊มนม ขวดนม ด้วยน้ำยาล้างอุปกรณ์ และทำการนึ่งเพื่อฆ่าเชื้อ
หลังเสร็จสิ้นกิจกรรม
นางสาวสุจิตรา อนุไพร รหัสนักศึกษา 602701105 รุ่นที่ 35