Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัยTriage 3.4…
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัยTriage
3.4-3.5
Acute MI
แบ่งกลุ่มอาการทางคลินิกได้2 คือ
2. ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Acute coronary syndrome, ACS
เจ็บเค้นอกรุนแรงเฉียบพลัน
หรือเจ็บขณะพักRest angina นานกว่า20 นาที
เจ็บเค้นอกซึ่งเกิดขึ้นใหม่ หรือรุนแรงขึ้นกว่าเดิม
2.Non ST elevation acute coronary syndrome
ไม่พบST segment elevation
หากมีอาการนานกว่า30 นาทีอาจจะเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดnon-ST elevation MI
1.ST elevation acute coronary syndrome
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ที่พบความ ผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจมีลักษณะST segment ยกขึ้นอย่างน้อย2leads ที่ต่อเนื่องกัน
เกิดLBBB ขึ้นมาใหม่ ซึ่งเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
อาจเกิดAcute ST elevation myocardial infarction
(STEMI or Acute transmural MI
or Q-wave MI)
1. ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (stable angina)
หรือ ภาวะเจ็บเค้นอกเรื้อรัง (chronic stable angina)
เจ็บเค้น อกเป็นๆ หายๆอาการไม่รุนแรง ระยะเวลาครั้งละ3-5 นาที
หายโดยการพักหรืออมยาขยายเส้นเลือดหัวใจ
อาการสำที่คัญ
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
ปวดเมื่อยหัวไหล่หรือปวดกราม หรือจุก บริเวณลิ้นปี่
เป็นมากขณะออกกำลัง
เจ็บหนักๆเหมือนมีอะไรมาทับหรือรัดบริเวณกลางหน้าอกใต้กระดูกsternum
เป็นนานครั้งละ2-3นาทีเมื่อนั่งพักหรืออมยา nitroglycerin
อาการจะทุเลาลง
การวินิจฉัยโรค
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย
(exercise stress test)
การตรวจ cardiac imaging ชนิดต่าง ๆ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ
การรักษา
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจ,O2saturation, วัดสัญญาณชีพ
ให้Aspirin gr V (325 mg) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืน
ให้Isosorbide dinitrate (Isordil) 5 mg อมใต้ลิ้น
Sildenafil (Viagra) ภายใน 24 ชั่วโมง ควรงดยาอมใต้ลิ้น
พิจารณาให้ยาแก้ปวดMorphine3-5mg
เตรียมพร้อมสำหรับภาวะแทรกซ้อน
นำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
เหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเฉียบพลันภายใน1–2สัปดาห์
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน,โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เฉียบพลัน,โรคที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
เหนื่อยขณะออกกำลังที่เกิดขึ้นเรื้อรังเกินกว่า3สัปดาห์ขึ้นไป
Ischemic cardiomyopathy, valvular heart disease, congenital heart disease
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
หายใจหอบนอนราบไม่ได้ แน่นอึดอัดหายใจเข้าไม่เต็มปอด
ความดันโลหิตที่ต่ำลงเนื่องจากภาวะหัวใจขาดเลือดทำให้กำลังการบีบ ตัวของหัวใจลดลงเฉียบพลัน
หัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
เป็นๆ หายๆ มาเป็นเวลานาน
นอนราบไม่ได้ต้องตื่น ขึ้นมากลางดึก มีตับโต ขาบวม
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
เวียนศีรษะเป็นลมหน้ามืด ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
หัวใจเต้นผิดจังหวะบางชนิดและยังต้องคิดถึงการตายของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวา
ภาวะขาดน้ำ เนื่องจากผู้ป่วย อาจมีคลื่นไส้อาเจียน และดื่มน้ำได้น้อย
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
วินิจฉัยแยกโรค สาเหตุของการหมดสติ ชั่วคราวอันเนื่องจากหัวใจขาดเลือด อาจเกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะเนื่องจากทางเดินไฟฟ้าหัวใจหัวใจเต้นช้า ติดขัด หรือจากภาวะความดันโลหิตลดลงเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
1.ต้องรีบตรวจชีพจรและการเต้นของหัวใจรวมทั้งคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ventricular standstill หรือventricular fibrillation
2.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12ชนิดlead
3.ควรพิจารณาส่งผู้ป่วย เพื่อตรวจสืบค้นเพิ่มเติม
อาจคิดถึงโรคหัวใจขาดเลือด ในผู้ที่มีอาการหมดสติชั่วคราวsyncope
การรักษา
1.การช่วยหายใจ และนวดหัวใจจากภายนอก cardiac massage
2.ต้องทำการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
3.ควรพิจาณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราวtemporary pacemaker
4.ควรให้การรักษาเพื่อแก้ไขภาวะช็อก
5.ควรพิจารณาให้การรักษาภาวะหัวใจขาดเลือด
บทบาทของพยาบาลฉุกเฉินในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
1.ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว
1) O: Onset ระยะเวลาที่เกิดอาการ
2) P: Precipitate cause สาเหตุชักนำและการทุเลา
3) Q: Quality ลักษณะของอาการเจ็บอก
4) R: Refer pain สำหรับอาการเจ็บร้าว
5) S: Severity ความรุนแรงของอาการเจ็บแน่นอก หรือPain score
6) T: Time ระยะเวลาที่เป็น หรือเวลาที่เกิดอาการที่แน่นอนปวดนานกี่นาที
2.ประสานงาน ตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วย
3.ให้ออกซิเจนเมื่อมีภาวะhypoxemia (SaO2 < 90% or PaO2 < 60 mmHg)
4.กำรตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
5.เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิดcardiac arrest
6.การพยาบาลกรณีEKG show ST elevation หรือพบLBBB ที่เกิดขึ้นใหม่
7.พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมื ประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
Pulmonary embolism (PE)
(1) การไหลเวียนของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหวimmobilization)( เป็นเวลานาน
(2) มีความผิดปกติของเลือดที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่ายhypercoagulable( states)
(3) มีผนังหลอดเลือดดำที่ผิดปกติเกิดจากมีlocaltrauma หรือมีการอักเสบ
ปัจจัยเสี่ยง
การผ่าตัดในระยะ12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มีโรคมะเร็ง
เคยเป็ นdeep vein thrombosis (DVT) หรือPE มาก่อน
immobilization นานเกิน3 วัน ใน4 สัปดาห์ที่ผา่ นมา
ระยะหลังคลอด3 สัปดาห์หรือการใช้estrogen
ประวัติครอบครัวเป็DVTน หรือPE
กระดูกหักบริเวณขาใน12 สัปดาห์
อาการแสดงทางคลินิก
อาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก pleuritic pain
ผู้ป่วยจะตัวเย็น มีความดันต่ำ
ช็อก ร่วมกับมีอาการเขียวคล้ำ (cyanosis)
ขาหรือน่องบวม ปวด
deep vein thrombosis ดังกล่าวจะสนับสนุนการวินิจฉัยว่PEมากขึ้น
แนวทางการวินิจฉัยและการส่งตรวจห้องปฏิบัติิ
1.การซักประวัติตรวจร่างกาย
ถ้าคะแนนมากกว่า6 ขึ้นไป โอกาสที่จะเป็นPEจะสูง
2.การถายภาพรังสีทรวงอก(chest X-ray)
3.คลื่นไฟฟ้าหัวใจ12leads(-ECG) ส่วนใหญ่พบว่าหัวใจเต้นเร็วsinustachycardia
4.คลื่นเสียงสะท้อนหัวใจechocardiography
หัวใจห้องล่างขวามีขนาดโต
5.การตรวจระดับก๊าซในเลือดแดงarterial( blood gas, ABG) พบว่า มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ
6.ค่าbiomarkers ต่างๆ ที่พบว่าสูงกว่าปกติD-dimer
7.Troponin-I หรือT และ Pro-Brain-type natriuretic peptide อาจสูงกว่าปกติ
การรักษา
Anticoagulation ผู้ป่วยส่วนมากในกลุ่มนี้จะได้รับการรักษาโดยการให้anticoagulation คล้าย ๆ กับ การรักษาDVT นั้นคือการให้heparin ในหลอดเลือดำในช่วงแรกและการให้ยาCoumadin ต่ออีกเวลา ประมาณ 3 เดือน ส่วนในผู้ป่วยที่มีการเกิดPEซ้ำแล้วซ้ำอีกอาจจะ พิจารณาการให้ยาAnticoagulation ตลอด ชีวิต
Thrombolytic therapy มักจะเก็บไว้ในผู้ป่วยที่มีกรณีmassivepulmonary emboli ที่มีระบบหัวใจ และปอดทำงานผิดปกติมีผลกับhaemodynamic อย่างรุนแรง
Caval filter คือการใส่ตะแกรงกรองembolism ใน inferior vena cava ตัวกรองเหล่านี้จะเป็นตัวเก็บ ก้อนเลือดซึ่งมาจากขาหรือiliac vein วิธีการนี้จะทำในผู้ป่วยที่มีrecurrent PE ทั้ง ๆ ที่ให้ยาanticoagulation อย่างเพียงพอ หรืออาจใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถให้ยาanticoagulationได้ก็จะพิจารณาอาจจะต้องใส่caval filter ชั่วคราว
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
การบาดเจ็บช่องท้องสามารถแบ่งออกเป็น2ชนิด
1.Blunt injuryพบร้อยละ70
รถชน หรือตกจากที่สูง มักเกิดการบาดเจ็บหลายแห่งร่วมกันmultipleinjuries
การบาดเจ็บทรวงอก ศีรษะ แขนขา เป็นต้น
การบาดเจ็บของตับ ม้า วินิจฉัยยากกว่าชนิดที่มีบาดแผลทะลุ เนื่องจากมีอาการแสดงช้า
ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอัตราการตายร้อยละ10-30
2.Penetrating trauma
Gun short wound ส่วนใหญ่ต้องรับการผ่าตัดหากบาดแผลอยู่ใกล้ทรวงอกหรือบาดเจ็บ ร่วมกับทรวงอก
Stabwoundหากพบ วัตถุคาอยู่อย่าดึงออก
ลักษณะและอาการแสดง
1.อาการปวด
2.การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
3.อาการท้องอืด เป็นอาการบ่งบอกถึงการได้รับบาดเจ็บของ ตับ ม้าม และเส้นเลือดใหญ่
ในท้อง
4.ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
5.ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะช็อก ที่ไม่เห็นร่องรอยของการเสียเลือดเมื่อการช่วยเหลือไม่ดีขึ้นให้ คำนึงถึงการตกเลือดในอวัยวะภายในช่องท้อง
ภาวะฉุกเฉินผู้ป่วยBlunt abdominal trauma
1.ผู้ป่วยที่มีอาการหนักมากShockท้องอืด
2.ผู้ป่วยที่มีสัญญาณชีพคงที่ แต่มีอาการแสดงของการบาดเจ็บช่องท้อง
3.ผู้ป่วยที่สัญญาณชีพปกติ ไม่มีอาการของการบาดเจ็บที่ช่องท้องชัดเจน
การพยาบาลเบื้องต้น
1.การประเมินผู้ป่วย
1) Primary survey
A. Airway maintenance with Cervical Spine control
B. Breathing and ventilation
C. Circulation with hemorrhagic control
D. Disability: Neurologic status
E. Exposure/ Environment control
2) Resuscitation เป็นการแก้ไขภาวะimmediate life threatening conditions ที่พบใน Primary survey
3)Secondary survey เป็นการตรวจอย่างละเอียด(head to toe) เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยว่า ผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจ็บที่อวัยวะใดบ้าง
4)Definitive care เมื่อได้รับการวินิจฉัยแล้วก็เป็นการรักษาที่เหมาะสม อาจนำผู้ป่วยไปผ่าตัด หรือเพียงแค่Medication
การพยาบาล
1.การดูแลระบบทางเดินหายใจ
1)ประเมินว่าผู้บาดเจ็บได้รับอากาศเพียงพอ ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
2)ดูแลผู้บาดเจ็บให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะผู้บาดเจ็บBluntabdominal trauma ที่อาจเกิดภาวะช็อกได้
3)กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
4)ส่งผู้ป่วยไปถ่ายภาพรังสีตามแผนการรักษา
2.การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน การบาดเจ็บช่องท้องมักเกิดกับอวัยวะหลายระบบร่วมกัน ทำให้เกิดการสูญเสียเลือด
3.การบรรเทาความเจ็บปวดโดยวิธีการใช้ยาตามแผนการรักษาและวิธีการไม่ใช้ยา
4.ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและครอบครัว
5.การเฝ้าระวังการประเมินความรุนแรงเบื้องต้นเป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดในการรักษา
บาดเจ็บระบบทางเดินปัสสาวะ
กระแทกและมีอาการปัสสาวะเป็นเลือด
ไต หลอด
ไต กระเพาะปัสสาวะ และหลอดปัสสาวะ
การบาดเจ็บส่วนบนและส่วนล่าง
สาเหตุมักเกิดจากถูกยิง ถูกแทง ถูกเตะ ถูกต่อย รถชน