Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด 3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุ…
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
3.4 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด
Acute MI
หมายถึง โรคที่เกิดจากหลอดเลือดแดง ที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจตีบหรือตันซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากไขมัน
กลุ่มอาการเจ็บเค้นอก
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยแยกโรค เช่น โรคหลอดเลือดแดงใหญ่แทรกเซาะ , โรคเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ , โรคลิ่มเลือดอุดตันในปอดชนิดเฉียบพลัน เป็นต้น
ควรนึกถึงภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ในรายที่เจ็บเค้นหน้าอกนานเกินกว่า 20 นาที หรือ อมยาใต้ลิ้นแล้วไม่ได้ผล *ผู้ป่วยที่คลื่นไฟฟ้าหัวใจแสดง ST elevation ชัดเจนไม่ต้องรอผล cardiac enzyme ให้รีบรักษาอย่างรวดเร็ว
การซักประวัติในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บเค้นอกที่มีลักษณะเฉพาะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจซ้ำ เพื่อช่วยประเมินความรุนแรงของโรค
อาจสงสัยว่าเจ็บเค้นอกนั้นมีสาเหตุจากโรคหัวใจขาดเลือดในผู้ป่วย
การรักษา
ให้ Aspirin gr V (325 mg.) 1 เม็ด เคี้ยวแล้วกลืน
ให้ Isosorbide dinitrate 5 mg. อมใต้ลิ้น
เฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจหัวใจ , O2 sat , Record V/S
หากอาการไม่ดีขึ้นให้ยาแก้ปวด Morphine เจือจางทางหลอดเลือดดำ
นอนพักในที่ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้ออกซิเจน
แบ่งได้ 2 กลุ่ม
ภาวะเจ็บเค้นอกคงที่ (Stable angina) หรือ เจ็บเค้นอกเรื้อรัง
ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (Acute coronary syndrome , ACS)
ST elevation acute coronary syndrome : เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพัน มักพบ ST segment ยกขึ้นอย่างน้อย 12 lead ต่อเนื่อง หรือเกิด LBBB ใหม่
Non ST elevation acute coronary syndrome : เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพัน ไม่พบ ST segment มักพบคลื่นหัวใจเป็น ST segment depression หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
เหนื่อยขณะออกแรง
ปรากฏอาการต่อเนื่อง คือ เหนื่อยขณะออกกำลังกายเฉียบพลันภายใน 1-2 สัปดาห์
การทำงานของหัวใจลดลงอย่างช้าๆ ต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานาน
อาการมักพบ เจ็บเค้นหน้าอก ใจสั่น เหงื่อออก เหนื่อยขณะออกแรง เป็นลม หมดสติหรือเสียชีวิตเฉียบพลัน
กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
กลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน
อาการเหนื่อยเฉียบพลัน หายใจหอบ นอนราบไม่ได้ แน่นอึดอัด หายใจเข้าไม่เต็มปอด
อาการที่เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง
มีอาการที่เกิดจากหัวใจล้มเหลวทั้งซีกซ้ายและซีกขวา เช่น นอนราบไม่ได้ต้องตื่นขึ้นมากลางดึก มีตับโต ขาบวม
อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ำเฉียบพลัน
จากภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ทำให้ประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจลดลงอย่างรวดเร็ว
หน้ามืด เวียนศีรษะ เป็นลม ร่วมกับอาการแน่นหน้าอก
อาการหมดสติหรือหัวใจหยุดเต้น
การหมดสติอาจะทำให้เกิดภาวะหัวใจขาดเลือด อาจเกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้า
การวินิจฉัย
พิจารณาส่งตรวจเพิ่มเติม เช่น การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง การสวนหัวใจ
ตรวจ EKG 12 lead
ตรวจ V/S และการเต้นของหัวใจ เพื่อยืนยัน Cardiac arrest โดย EKG จะสามารถแยกได้ว่าเป็น VS หรือ VF
จำเป็นต้องได้รับการกู้ชีพ ณ จุดเกิดเหตุอย่างมีประสิทธิภาพ
การรักษา
การช่วยหายใจ และนวดหัวใจภายนอก
ควรพิจารณาใส่สายกระตุ้นหัวใจชั่วคราว
ต้องทำการกระตุกไฟฟ้าหัวใจด้วยพลังงานสูงสุดสลับกับการกู้ชีพเบื้องต้น
บทบาทพยาบาลฉุกเฉิน ในการดูแลผู้ป่วยระยะวิกฤติ
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด Cardiac arrest
การพยาบาลกรณี EKG Show ST elevation หรือ พบ LBBB เกิดขึ้นใหม่ ต้องเตรียมผู้ป่วยรักษาโดยการเปิดหลอดเลือดโดยด่วน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการแปลผล
พยาบาลต้องประสานงาน จัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแลรักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
ให้ออกซิเจน เมื่อมีภาวะ Hypoxemia ไม่ควรใช้ Routine oxygen ในผู้ป่วยที่มี SaO2 > 90%
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนดูแลรักษา
ประสานงาน ให้การดูแลแบบช่องทางด่วนพิเศษ โดยใช้ Clinical patheay หรือ Care map
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
ประเมินสภาพผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว ซักประวัติตาม OPQRST
Pulmonary embolism
อาการแสดงทางคลินิก
บางรายอาจมีอาการหน้ามืด และ เป็นลม
ในรายที่มีลิ่มเลือดขนาดใหญ่ไปอุดในหลอดเลือดปอด (Massive PE) ผู้ป่วยจะตัวเย็น มีความดันต่ำ ช็อก ร่วมกับ Cyanosis
หายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกระทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก
ในผู้ป่วย PE ควรตรวจ น่องบวม ปวด หรือไม่
การวินิจฉัยและการส่งตรวจ
ใช้ Wells Scoring system ในการวินิจฉัย PE ถ้าคะแนนมากกว่า 6 จะมีโอกาสเป็น PE สูงมาก
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG 12 lead)
Echocardiography
ตรวจ ABG
ตรวจค่า Biomarker ต่างๆ
Troponin-T และ Pro-Brain-type natriuretic peptide
ปัจจัยเสี่ยง
เคยเป็น Deep vein thrombosis หรือ PE มาก่อน
Immobilization นานเกิน 3 วัน ใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
มีโรคมะเร็ง
ระยะหลังคลอด 3 สัปดาห์หรือการใช้ Estrogen
การผ่าตัดในระยะ 12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ประวัติครอบครัวเป็น DVT / PE
กระดูกหักบริเวณขา 12 สัปดาห์ที่ผ่านมา
การรักษา
Thrombolytic Therapy มักทำกรณี Massive pulmonary emboli
Caval filter การใส่ตะแกรงทอง Embolism ใน Inferior vena cava
Anticoagulation
พยาธิสภาพจาก 3 กลไก
มีความผิดปกติของเลือด ที่ทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย
มีผนังหลอดเลือดดำที่ผิดปกติเกิดจากมี Local Trauma หรือมีการอักเสบ
การไหลเวียนของเลือดลดลงเกิดจากร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว (Immobilization)
3.5 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินอาหาร
ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วย
ภาวะเลือดออก
เกิดจากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
เกิดภาวะ Hypovolemic shock
ภาวะฉีกขาดทะลุ (Perforate)
อวัยวะที่เป็นโพรงและเกิดการปนเปื้อนของสิ่งที่อยู่ในช่องท้องจากน้ำย่อยเข้าไปในช่องท้องและเกิดการอักเสบ
การบาดเจ็บของกระเพาะอาหาร
การบาดเจ็บของลำไส้เล็ก , ลำไส้ใหญ่
การบาดเจ็บของหลอดอาหาร
การพยาบาลเบื้องต้น คือ การประเมินผู้ป่วย
Resuscitation : แก้ไขภาวะ immediate life threatening conditions
Secondary survey : ตรวจอย่างละเอียด
ตามหลัก Primary Survey
C : Circulation with hemorrhagic control : การประเมินการเสียเลือดหรือภาวะ Hypovolemic shock
D : Disability : Neurologic status
B : Breathing and Ventilation : ดูภาวะ Apnea , Upper airway obstruction
E : Exposure / Environment ถอดเสื้อผ้าเพื่อหาร่องรอยที่ชัดเจน ระวังภาวะ Hypothermia
A : Airway maintenance with Cervical Spine control
Definitive care : การได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม เช่น การผ่าตัด
ลักษณะและอาการแสดง
การกดเจ็บเฉพาะที่หรือการเกร็งของกล้ามเนื้อท้อง
อาการท้องอืด : ตับ ม้าม เส้นเลือดใหญ่อาจได้รับการบาดเจ็บ
อาการปวดจากแผลหรือจากการฉีกขาดของผนังหน้าท้องและอวัยวะภายในได้รับอันตราย
ไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
ในผู้ป่วยภาวะช็อกให้คำนึงถึงการตกเลือดของอวัยวะในช่องท้อง
การพยาบาลผู้ป่วยทีไ่ด้รับการบาดเจ็บที่ช่องท้อง
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
กำจัดสาเหตุที่ทำให้เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
การประเมินว่าได้รับอากาศเพียงพอหรือไม่ ไม่มีการอุดตันของทางเดินหายใจ ทำทางเดินหายใจให้โล่งด้วยวิธี Head tilt and chin lift maneuver
ส่งผู้ป่วยไป X-ray ตามแผนการรักษา
การดูแลระบบหัวใจและระบบไหลเวียน
ช่วยเหลือป้องกันภาวะ Hypovolemic Shock โดยให้ Lactate ringer หรือ 5%D/N/2 ใส่สายสวน ปัสสาวะ NG tube ตามแผนการรักษา
การบรรเทาความเจ็บปวด
ให้การพยาบาลเพื่อลดความวิตกกังวล
การเฝ้าระวัง และประเมินซ้ำ
การบาดเจ็บช่องท้องสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Blunt injury
เกิดจากอุบัติเหตุรถชน ตกจากที่สูง บาดเจ็บหลายแห่งร่วมกัน
ต้องติดตามอาการเป็นระยะ พบร้อยละ 70
Penetrating trauma
Gun short wound : ต้องได้รับการผ่าตัดหากบาดแผลอยู่ใกล้ทรวงอกหรือบาดเจ็บ
Stab wound : ห้ามดึงวัตถุที่คาออก