Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท, 3.2 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประส…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท
การบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง
หลักสำคัญในกำรพยาบาลผู้ป่วย ที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะและสมอง
ควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
เมื่อให้การช่วยเหลือเบื้องต้นแล้ว แพทย์ควร
วินิจฉัยตำแหน่งของสมอง
ที่ได้รับบาดเจ็บ โดย CT Scan
รีบส่งต่อผู้ป่วยไปหาแพทย์ Neurosurgeon
การป้องกัน Secondary brain
ชนิดการบาดเจ็บศีรษะและสมอง
ความรุนแรง
Moderate head injury GCS 9-12
Severe head injury GCS 3-8
Mild head injury GCS 13-15
พยาธิสภาพส่วนต่างๆของสมอง
Skull fracture
intracranial lesion
กลไกการบาดเจ็บแบ่งออกเป็น Blunt และ Penetrating injury
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บศีรษะและสมอง
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 9-12
ปวดหัวมาก ชัก อาเจียน
มีการบาดเจ็บหลายระบบร่วมกัน
มีอาการอารมณ์เปลี่ยนแปลง
พบว่าร้อยละ 10-20 จะเกิดอาการ Coma ตามมา
ต้องให้การประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 3-8
มีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypotension โอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้นถึง 2 เท่า
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
แพทย์จึงรีบทําการวินิจฉัยและส่งผู้ป่วยจะทํา CT Brain ทันที
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 13-15
มีอาการมึนศีรษะเล็กน้อย
มีภาวะ Amnesia
มีแผลฉีกขาดลึกเพียงแค่หนังศีรษะ
มีความยากในการประเมินอาการ
ร้อยละ 3 ที่มีอาการเลวลงในเวลาต่อมาจนเสียชีวิตได้ เกิดภาวะ Talk and die
หากพบ loss of Conscious นานกว่า 5 นาที แพทย์จะพิจาณาทํา CT Brain
ควรให้คําแนะนําและให้คู่มือการดูแลผู้ป่วย
การสังเกตอาการผิดปกติ
อาเจียนพุ่ง
เวียนศีรษะ ปวดศีรษะอย่างรุนแรง
สับสนหรือพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
อัตราการหายใจเร็วหรือช้าผิดปกติ
บาดแผลบริเวณศีรษะบวมมากขึ้น
มีน้ําหรือเลือดไหลออกทางรูจมูกและ/หรือรูหู
จัดท่าให้นอนหนุนหมอน 3 ใบ หรือนอนศีรษะสูง 30 องศา
ในรายที่หลับตลอดเวลา ควรปลุกตื่นทุก 1-2 ชั่วโมง
รับประทานยาแก้ปวด พาราเซต-ตามอล ไทลีนอล ได้ทุก 4-6 ชั่วโมงถ้ามีอาการปวดศีรษะมาก
ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่ปรึกษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บศีรษะและสมอง
จัดทางเดินหายใจให้โล่ง
ห้ามเลือด และช่วยการไหลเวียนเลือดให้เพียงพอ
การประเมินสภาพของผู้ป่วยให้ถูกต้องครอบคลุมก่อน
การซักประวัติการบาดเจ็บอย่างรวดเร็ว
เกิดเหตุที่ไหน
หลังได้รับบาดเจ็บแล้วผู้ป่วยมีอาการอะไรบ้าง
การบาดเจ็บเกิดขึ้นอย่างไร
หมดสติทันทีหลังเกิดเหตุหรือไม่
มีอาการชักหรือไม่
ประเมินภาวะอันตรายที่คุกคามชีวิต
การประเมินอาการทางระบบประสาท
ประเมินภาวะ Cervical spine injury
การป้องกันภาวะสมองบวมสาเหตุจาก
สาเหตุจากการนอนในท่าที่ไม่เหมาะสม
จัดผู้ป่วยนอนในท่าศีรษะสูง 20 – 30 องศา
จัดบริเวณคอให้อยู่ในแนวตรง
หลีกเลี่ยงการจัดท่างอสะโพกเกิน 90 องศา
สาเหตุจาก Valsalva maneuver
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ําในปริมาณที่ถูกต้องตามแผนการรักษาของแพทย์
กาซคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง หรือออกซิเจนในเลือดต่ํา
ดูดเสมหะในปากและลําคอ
ดูดเสมหะแต่ละครั้ง ต้องจํากัดเวลาดูดไม่ให้นานเกิน 15 วินาที
จัดให้ผู้ป่วยนอนตะแคงในท่ากึ่งคว่ำ
ใส่ Oropharyngeal airway
การป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมอง
ใช้ผ้ากอซ Sterile ปิดแผลที่กะโหลกศีรษะ
ห้ามใช้สําลีหรือผ้ากอซอุดในรูจมูก
ควบคุมภาวะชักเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของสมอง
เตรียมพร้อมผู้ป่วยไปรับการตรวจวินิจฉัยทางรังสี
Primary Survey
A. Airway with Cervical spine control
B. Breathing
ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักเกิดการหยุดหายใจในระยะสั้นๆ และ Hypoxia
หากไม่ได้รับการช่วยเหลือผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้
แพทย์จะทําการใส่ท่อช่วยหายใจ
แล้วใช้เครื่องช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% แล้วรักษาระดับ SpO2 มากกว่าร้อยละ 98
การทํา Hyperventilation
ผู้ป่วยที่มีอาการทางระบบประสาทเลวลงอย่างรวดเร็ว
หรือผู้ป่วยที่มีอาการของ brain herniation
C. Circulation การไหลเวียนเลือด
ระบบประสาทในผู้ป่วยที่มีอาการ Shock หรือ ความดันโลหิตต่ำนั้นเชื่อถือไม่ได้
แต่เมื่อแก้ไขภาวะ shock แล้วผู้ป่วยจะกลับมามีภาวะปกติ
การเสียเลือด
open fracture
pelvic hematoma
Scalp laceration
multiple injury
การให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
และควรหลีกเลี่ยงสารละลายที่มีกลูโคส
สารน้ําที่เหมาะสมคือ normal saline หรือ ringer lactate
ควรหลีกเลี่ยงสารละลาย hypotonic
ประเมินทางเดินหายใจผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
ในผู้ป่วยหมดสติที่สวมหมวกกันน๊อค (Helmet)
คนที่สอง ปลดสายรัดคาง
คนที่หนึ่ง ถอดหมวกออกทางด้านบนศีรษะ
คนที่สอง ปลดสายรัดคาง
คนที่หนึ่ง ทําหน้าที่ประคองศีรษะให้อยู่ในแนวตรง
คนที่หนึ่ง มีหน้าที่ในการประคองศีรษะให้อยู่ในแนวตรง
คนที่สอง ใส่ Collar
Secondary Survey
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
กํารตรวจทางระบบประสาท
ตรวจเท่าที่จำป็นอย่างรวดเร็ว
การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
พยาธิสภาพไขสันหลังบาดเจ็บ
Ischemia condition
ไขสันหลังเกิดการชอกช้ํา กด เบียด ด้วยกระดุกสันหลังที่แตกหัก
ไขสันหลังขาดเลือดจากการกดเบียด หลอดเลือดที่มาเลี้ยงไขสันหลัง
Cord concussion
ไขสันหลังได้รับการกระทบกระเทือน
หยุดการทํางานชั่วคราว
ไขสันหลังฉีกขาดทุกชั้น Dura, Arachnoid, Pia
สาเหตุ
การใชความรุนแรง
การตกจากที่สูง
อุบัติเหตุจราจร
Spinal shock
ไขสันหลังบริเวณรอยโรคและส่วนที่ต่ํากว่ารอยโรคมักจะหยุดทํางานชั่วคราว
การประเมินต้องรอไประยะหนึ่งส่วนมากจะหาย
เกิดเมื่อได้รับการบาดเจ็บที่ไขสันหลังใหม่ๆ
จากปฏิกิริยาตอบสนอง
anal reflex
deep tendon reflex
bulbocarvenosus
Complete cord injury
ใช้ Sacral sparing definition
การพยาบาลป่วยที่บาดเจ็บกระดูกสันหลัง
เป้าหมาย
ป้องกันกํารทำลายไขสันหลังเพิ่มเติม
การรักษาชีวิต
เป้าหมายแรกในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
การรักษาชีวิต
และป้องกันการทําลายสันหลังเพิ่มเติม
ตรวจประเมินเพื่อทราบความรุนแรงของการบาดเจ็บ
การส่งต่อไปรับบริการในสถานพยาบาล
การพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุ
การไหลเวียนของโลหิต
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกต้อง
การดูแลเรื่องหายใจ
ก่อนเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
ใช้อุปกรณ์ประคองกระดูกคอ หรือวางถุงทรายประกบซ้าย ขวา
เคลื่อนย้ายด้วยความระมัดระวังและรวดเร็ว
จัดท่ากระดูกสันหลังให้นิ่งก่อน
การพยาบาลผู้ป่วย
การประเมินสภาพของผู้ป่วย
การตรวจร่างกายทั่วไป
คลำแนวกระดูกสันหลังตังแต่ Ociput ถึงก้นกบ
อาการชา ความรู้สึกลดลง
การมีผิวหนังเป็นสีชมพู แห้ง อุ่น ในขณะความดันโลหิตต่ำลง ชีพจรช้าลง
การตรวจหาการบาดเจ็บส่วนอื่น ๆ
ซึ่งถ้าตรวจช้าอาจทําให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
การเกิดอุบัติเหตุหรือการทําร้ายร่างกาย มักก่อให้เกิดการบาดเจ็บหลายระบบ
การซักประวัติ
สาเหตุการบาดเจ็บ
ความรุนแรงของพยาธิสภาพ
ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้นและการเคลื่อนย้าย
การประเมินสภาพจิตใจ
การตอบสนองต่อการบาดเจ็บไขสันหลัง
การประเมินการหายใจ
ทําทางเดินหายใจให้โล่ง
พร้อมกับการตรวจการหายใจว่าหายใจได้เพียงพอหรือไม่
การใช้กล้ามเนื้อส่วนใดในการหายใจ
ทำทางเดินหายใจให้โล่งโดยใชว้ธิ ีJaw thrust maneuver
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ
รักษาระดับ Systolic ~ 80 มม.ปรอท
ถ้าพบว่าความดันSystolicต่ำกว่านี้ควรรีบรายงานแพทย์
แพทย์จะให้ยากระตุ้นหลอดเลือดหดตัว เพิ่มแรงดันเลือดและชีพจร
การพลิกตัวและการเคลื่อนย้าย
ให้แนวกระดูกสันหลังผู้ป่วยตรง
ใช้ผู้ช่วย 3 – 4 คนช่วยยกผู้ป่วยขึ้นพร้อมกัน
การให้ยา
Atropine ที่ใช้รักษาอัตราการเต้นของหัวใจ
Dopamineช่วยรักษาความดันโลหิตให้สูงกว่า 80 - 90 มิลลิเมตรปรอท
ในรายที่ท้องอืดดูแลให้งดน้ําและอาหาร ทางปาก
ใส่สายสวนคาปัสสาวะไว้
ให้ระบายน้ําปัสสาวะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ติดตามเฝ้าระวังการตกเลือด
ติดตามเฝ้าระวังการตกเลือด ความรู้สติ สัญญาณชีพ การเต้นของหัวใจ และความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
เตรียมส่งผู้ป่วยตรวจรังสี
โดยใช้ Cervical Hard Collar พันยึดรอบคอไม่ให้เอียงหรือขยับเขยื้อน
ใช้แผ่นกระดานรองหลังผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการเคลื่อนย้าย
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
เตรียมผ่าตัดตามแผนการรักษาตามข้อบ่งชี้
การพยาบาลผู้ป่วย Acute Stroke
ชนิดโรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
โรคหลอดเลือดสมองชนิดสมองขาดเลือด (Ischemic Stroke)
เกิดจากอุดตันของหลอดเลือดจนทําให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
มักเกิดร่วมกับภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง
จากไขมันที่เกาะตามผนังหลอดเลือดจนทําให้เกิดเส้นเลือดตีบแข็ง
แบ่งได้ 2 ชนิด
โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (Thrombotic Stroke)
ไหลเวียนไปยังสมองได้โรคหลอดเลือดขาดเลือดจากการอุดตัน (Embolic Stroke)
โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง (Hemorrhagic Stroke)
แบ่งได้อีก 2 ชนิด
โรคหลอดเลือดสมองโป่งพอง (Aneurysm)
โรคหลอดเลือดสมองผิดปกติ(Arteriovenous Malformation)
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
มีไขมัน เกาะหนาตัวทําให้เลือดไหลผ่านได้ลำบากมากขึ้น
อายุมากขึ้นหลอดเลือดจะมีการแข็งตัวมากขึ้น
เพศ
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก
เนื้อเยื่อในสมองถูกทําลาย ส่งผลให้เกิดอาการต่างๆขึ้น
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
อาการชา หรือสูญเสียความรู้สึก
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน หรือเห็นภาพซ้อน
อาการอ่อนแรง หรือมีอาการอัมพฤกษ์
อาการบ่งชี้หลอดเลือดสมอง
สับสน พูดลําบาก พูดไม่รู้เรื่อง มีปัญหาการพูด
การมองเห็นลดลง 1 หรือทั้ง 2 ข้าง
การอ่อนแรงของหน้า แขน หรือขาซีกเดียว
มีปัญหาด้านการเดิน มึนงง สูญเสียการสมดุลการเดิน
“F A S T
F = Face เวลายิ้มพบว่ามุมปากข้างหนึ่งตก
A = Arms ยกแขนไม่ขึ้น 1 ข้าง
S = Speech มีปัญหาด้านการพูดแ
T = time ผู้มีอาการดังกล่าวต้องรีบไปโรงพยาบาล
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้นเมื่อผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน
จัดให้มีเจ้าหน้าที่ เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องฉุกเฉินโดยเร็ว
ซักประวัติอาการสําคัญที่มาโรงพยาบาล
อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
การมองเห็น
การพูด
เวียนศีรษะ
ปวดศีรษะรุนแรงโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน
การประเมิน
Basic life support/ Advanced life support
อาการแสดงทางระบบประสาท (neurological signs)
vital signs
การประเมินระดับความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
รายงานแพทย์ทันทีในกรณีต่อไปนี้
(SpO2) < 94% หรือ ผู้ป่วยที่มีภาวะ cyanosis
ระดับความรู้สึกตัว GCS ≤10 คะแนน
สัญญาณชีพและอาการแสดงทางระบบประสาทผิดปกติ
SBP ≥ 185 mmHg - DBP ≥ 110 mmHg
ระดับน้ําตาลในเลือด ≤ 50 mg/dL หรือ ระดับน้ําตาลในเลือด ≥ 400 mg /dL
อาการอื่น ๆ
อาการเจ็บแน่นหน้าอก
ชัก เกร็ง กระตุก
ส่งตรวจวินิจฉัยโรคตามแผนการรักษา
ส่งตรวจพิเศษ CT brain non contrast
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาทและ 3.3 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
3.3 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
การบาดเจ็บทรวงอก
ลักษณะและอาการแสดง
กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the Ribs)
อาการปวดบริเวณที่หัก และหายใจลําบาก
ตรวจร่างกายจะพบอาการกดเจ็บบริเวณที่หัก
ภาวะอกรวน (Flail Chest)
ผนังทรวงอกบริเวณกระดูกซี่โครงที่หักขยับเขยื้อนขณะผู้ป่วยหายใจเข้าจะทําให้บริเวณที่หักยุบ
และขณะหายใจออกบริเวณที่หักจะยกสูงกว่าส่วนอื่น
ประเมินภาวะ Flail Chest ได้จากอาการ Fractured Ribsการหายใจลําบาก
Penetrating Chest Wounds
เกิดอากาศหรือเลือดออกในระหว่างปอดกับผนังทรวงอกทําให้ปอดแฟบ
Tension Pneumothorax
มีลมรั่วจากปอดข้างที่ได้รับบาดเจ็บ ลมรั่วจากอากาศภายนอกเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด แล้วลมนั้นไม่สามารถออกมาสู่ภายนอกได้
Tension Pneumothorax
เลือดออกในโพรงเยื่อหุ้มปอด อย่างเฉียบพลันมากกว่า 1,500ml. หรือมากกว่า 1 ใน 3 ของปริมาณเลือดทั้งหมดของร่างกาย
Cardiac temponade
เกิดจากเลือดเข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มหัวใจ (Pericardial sac) โดยเลือดอาจมาจากหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ เส้นเลือดขนาดใหญ่ที่ได้รับบาดเจ็บ
สาเหตุ
Blunt injury
อุบัติเหตุการจราจร
ตกจากที่สูงอาจไม่พบร่องรอยการบาดเจ็บ
Penetrating injury
มีบาดแผลภายนอก
ถูกยิงและถูกแทง
ภาวะฉุกเฉินรุนแรงที่เกิดจากการบาดเจ็บทรวงอก
Hypercapnia
ส่วนใหญ่เกิดจากการ Ventilation ไม่เพียงพอ จากการเปลี่ยนแปลงความดันในช่องอก
สมองพร่องออกซิเจนและระดับความรู้สึกตัวลดลง
Metabolic acidosis
จากการเพิ่ม Lactic acid ในร่างกาย
ที่มาจาก Tissuehypoperfusion จากภาวะ Shock
Tissue hypoxia
เกิดภายหลังการบาดเจ็บทรวงอกจนทําให้เกิดการเสียเลือด
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บทรวงอก
Primary survey
A. Airway
ฟังเสียงหายใจและค้นหาสิ่งแปลกปลอมที่ทำให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ตรวจประเมินทางเดินหายใจส่วนบน
B. Breathing
ประเมินจากการ ดู คลํา เคาะ ฟัง
เพื่อหาความผิดปกติของการหายใจรวมถึงการโป่งพองของเส้นเลือดดําที่คอ
C. Circulation
ตรวจความดันโลหิต สี อุณหภูมิผิวหนังบริเวณปลายมือปลายเท้า
ประเมินความโป่งพองของเส้นเลือดดําที่คอ (Neck vein)
โดยคลําชีพจร ประเมินอัตรา ความแรง จังหวะความสม่ำเสมอ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
ทําการสํารวจขั้นต้น
ทางเดินหายใจ และการหายใจ
ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก
กรณีหายใจเองไม่ได้ให้ใส่ท่อช่วยหายใจ
ดูแลการไหลเวียน
ถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะ Shock ควรให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา
วัดสัญญาณชีพ
ดูอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
hypoxia เป็นอาการแสดงความรุนแรงที่สุดของการได้รับบาดเจ็บทรวงอก
มี early interventions
ป้องกันภาวะ hypoxia
Immediately life-threatening injuries
ต้องได้รับการรักษาอย่างทันทีทันใด
ด้วยวิธีง่ายๆ เท่าที่จําเป็น
กรณีตรวจพบกระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา
ให้ใช้ผ้าพับให้มีความกว้างประมาณ 2 นิ้วพันบริเวณทรวงอกจนถึงส่วนล่างสุดของซี่โครง
ให้แน่นทับบริเวณที่สงสัยกระดูกซี่โครงหัก
แล้วอ้อมรอบลําตัว
ไปผูกปมบริเวณที่ไม่หัก
ก่อนผูกปมให้ผู้บาดเจ็บหายใจออกให้
เต็มที่ก่อน
กรณีตรวจพบ Flail chest
ให้หาวิธีไม่ให้บริเวณที่หักเกิดการเคลื่อนไหว
อาจใช้หมอนรองบริเวณที่หัก
ใช้ผ้าพันรอบทรวงอกเช่นเดียวกับ Fractured Ribs
มือเปล่า ในกรณีที่มีการบาดเจ็บรุนแรงอาจต้องให้การช่วยเหลือในการหายใจ
ให้ออกซิเจน หรือช่วยฟื้นคืนชีพแล้วนําผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
กรณีตรวจพบ Penetrating Chest Wounds
ให้รีบปิดแผลอย่างเร็วที่สุดป้องกันไม่ให้มีอากาศเข้าไปในchest cavityมากขึ้น
ในการปิดแผลอาจทําให้ผู้ป่วยหายใจได้ยากมากขึ้น
วัสดุที่ใช้ปิดแผลเช่น Vaseline gauze, plastic wrap
เปิดรูมุมด้านหนึ่งของวัสดุที่ปิดแผล หลังจากนั้นให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
Cord concussion
น.ส.กมลลักษณ์ จันทร์ศิริ 6001210163 เลขที่ 7 Sec A