Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของกระดูกกระดูกพรุน (Osteoporosis) - Coggle Diagram
ความผิดปกติของกระดูกกระดูกพรุน (Osteoporosis)
สาเหตุของกระดูกพรุน
อายุ
อายุ 30-40 ปีมวลกระดูกจะลดลงเรื่อย ๆ ทุกปีจนเข้าสู่วัย
หมดประจําเดือน
ร่างกายจะมีความหนาแน่นของกระดูกสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 30 ปี
ภาวะขาดฮอร์โมนเพศ
ส่วนเพศชายมักมี
สาเหตุจากการตัดลูกอัณฑะทั้งสองข้าง
ภาวะหมดประจําเดือนในเพศหญิง
หรือการตัดมดลูก และการตัดรังไข่
กรรมพันธุ์
โดยเฉพาะครอบครัวที่มีคนเป็นโรคกระดูกพรุนจะมีความเสี่ยงสูง
เชื้อชาติโดยคนคนเชื้อสายคอเคเชียน (Caucasian)
และคนเอเชีย (ผิวขาวและผิวเหลือง) มีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรุนสูง
การสูบบุหรี่ จะทําให้ระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนต่ําลง
ภ าวะทุพโภชนาการ
ขาดอาหาร
ขาดอาหาร น้ําหนักตัวน้อย ผอม หรือรับประทานแคลเซียมในปริมาณต่ํา
การดูดซึมแคลเซียมไม่ดี
ดื่มสุรา สูบบุหรี่ และขาดการออกกําลังกาย
โรค เช่น เบาหวาน ขาดวิตามินดี โลหิตจางธาลัสซีเมีย ข้ออักเสบรูมาตอยด์ พิษสุราเรื้อรัง หรือมะเร็งบางชนิด
ยาบางชนิด เช่น ยาสเตียรอยด์ ยากันชัก ยาขับปัสสาวะ
ยาทดแทนไทรอยด์เป็นต้น
พยาธิกําเนิด
เป็นความผิดปกติของกระดูกที่เกิดจากความ
ผิดปกติทางเมแทบอลิซึม
เนื้อกระดูกมีความหนาแน่นลดลงหรือเนื้อกระดูกโปร่งบาง
มากขึ้น
มีการรบกวนสมดุลของกระบวนการปรับแต่กระดูก
(Bone remodeling)
ถูกรบกวนจากสาเหตุ
ต่าง ๆ โดยฌพาะการลดลงของฮอร่โมนเพศ
อัตราการสลายกระดูกเกิดขึ้นมากกว่าการสร้าง
หรือซ่อมแซมกระดูก
กระตุ้นการทำงาน osteoclast / ขัดขวางการทำงาน osteoblast
มีความเสื่อมของเนื้อเยื่อ การสะสมของแร่ธาตุเกิดได้ไม่เต็มที่
ความแข็งแรงกระดูกลดลง เนื้อกระดูกและมวลกระดูกมีความหนาแน่นลดลง
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่มีอาการแสดง
หากกระดูกหักจะมีอาการเจ็บปวด หรือ
มีความผิดปกติของโครงสร้างกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกเสียความแข็งแรง กระดูกหักง่าย
ติดเชื้อในกระแสเลือด
หลังโกง หลังค่อม
ปอดบวม
เคลื่อนไหวได้ลดลง ช่วยเหลือตัวเองลำบากเดิน
ไม่ได้/พิการ
ติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ
แผลกดทับ (กรณีเป็นผู้ป่วยติดเตียง)
โลหิตเป็นพิษ
การตรวจวินิจฉัย
การถ่ายภาพรังสี
พบความผิดปกติเมื่อกระดูกบางลงร้อยละ 25-30
ส่วนการทํา CT scan หรือ MRI จะสามารถตรวจลักษณะโครงสร้างของกระดูกได้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับแคลเซียม ฟอสฟอรัส และ alkaline phosphatase
ตัวบ่งชี้การสลายกระดูก ได้แก่ N-telopeptide (NTx), C-telopeptide
(CTx) และ deoxypyridinoline
ตัวบ่งชี้การสร้างกระดูก ได้แก่ Bone-specific alkaline phosphate
(BSAP) และ Osteoclacin
การตรวจวัดค่าความหนาแน่นของมวลกระดูก (Bone mineral density, BMD)
ด้วยเครื่อง Dual-energy
X-ray absorptiometry (DXA)
นําค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบกับค่าปกติในเพศและช่วงอายุเดียวกัน
หากกระดูกมีค่ามวลกระดูกน้อยกว่า 1.00 gm/cm2 จะมีโอกาสกระดูกหักได้ง่าย
แบ่งตามค่ามวลกระดูกได้ 4 ชนิด
กระดูกบาง (Osteopenia) คือ ค่ามวลกระดูกอยู่ระหว่างช่วง -2.5 ความเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ต่ํากว่าค่าเฉลี่ย (-1 ถึง -2.5 SD )
กระดูกพรุน (Osteoporosis) คือ ค่ามวลกระดูกต่ํากว่าค่าเฉลี่ยเกิน
กว่า 2.5เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ต่ํากว่า -2.5 SD)
กระดูกปกติ(Normal bone) คือ ค่ามวลกระดูกอยู่ในช่วง 1 ความเบี่ยงเบนมาตรฐานจากค่าเฉลี่ย (-1 SD)
กระดูกพรุนอย่างรุนแรง (Severe or Established osteoporosis)
คือ ค่ามวลกระดูกต่ํากว่าค่าเฉลี่ยมากกว่า 2.5 เท่า
ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร่วมกับมีกระดูกหัก