Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
HYPERTENSION ภาวะความดันโลหิตสูง - Coggle Diagram
HYPERTENSION ภาวะความดันโลหิตสูง
สาเหตุเกิดความดันสูง
ทราบสาเหตุ
ยาและปฏิกิริยาของยา
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
ภาวะตั้งครรภ์
โรคเนื้อไตและหลอดเลือดเลี้ยงไต
ไม่ทราบสาเหตุ(ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง)
เชื้อชาติผิวดำเป็นมากกว่าผิวขาว เพราะ rennin ต่ำกว่า
ภาวะเครียด บุคลิกภาพ อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ ความอ้วน การใช้ชีวิต
อายุ ความดันสูงขึ้นตามอายุปกติ100+อายุ
กรรมพันธ์ เพศชายสูงกว่าเพศหญิง
ประเภท
แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ความดันโลหิตสูงไม่พบสาเหตุ 90-95%
ความโลหิตพบสาเหตุ 5-10%
แบ่งตามระดับความดัน
Moderat=SBP 160-179/DBP100-119 mmHg
Severe=SBP180-209/DBP110-119 mmHg
Mild=SBP 140-159/DBP90-99 mmHg
Very severe=SBP>210/DBP>120 mmHg
อาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียน
มึนงง สับสนเป็นลม
ปวดศีรษะบริเวณท้ายทอย
Systole ความดันเลือดแดงสูง ขณะหัวใจห้องล่างบีบตัว
Diastole ความดันเลือดแดงลดลงขณะหัวใจห้องล่างคลายตัว
Korotkoff sound เกิดคลื่นสะท้อนที่หลอดเลือด
คือภาวะความดันเลือดแดงสูงกว่าปกติอยู่ตลอเวลา
Systolic pressure>140 mmHg
Diastolic pressure>95 mmHg
ค่าความดันปกติ120/80 mmHg
Pulse pressure 40 mmHg
กลไกลการปรับความดัน
ใช้เวลานาน
บทบาท ANP
Renal body fluid mechanism
Capillary fluid shift
อย่างรวดเร็ว
Baroreceptor reflex
Chemoreceptor reflex
Central nervous system
Norepinephrine epinephrine system
Rennin angiotensin aldosterone system
บทบาทของ vasopressin (ADH)
พยาธิสรีรวิทยา
Neural components ความผิดปกติของระบบประสาท
Homoral abnormalities ความผิดปกติของฮอร์โมน
RAAS→หลั่งangiotensin→หลอดเลือดหดตัว→หลั่ง aldosterone →คั่งเกลือและน้ำ
Natriuretic peptide มีความผิดปกติไม่ตอบสนอง →เกิดน้ำคั่งในหลอดเลือด →ความดันสูง
Hyperinsulinemia →เกลือคั่ง→กระตุ้นระบบประสาท→แคลเซียมในเซลล์สูง
Vascular endothetial mechanism
Endothelial สร้างสาร→ขยายหลอดเลือดได้ลดลงหรือสร้างสารหดหลอดเลือดมากเกินไป
การรับประทานแคลเซียม โปรแตสเซียมและโซเดียม
ขาดโปรแตศเซียม→แรงต้านของหลอดเลลือดส่วนปลายสูงขึ้น
ทานโซเดียมมากร่วมกับการผิดปกติของไต→น้ำและโซเดียมในหลอดเลือดเพิ่มขึ้น→cadiac output เพิ่มขึ้น
ขาดแคลเซียม→ความดันสูง จากเสียสมดุลภายในและภายนอกเซลล์
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยาปรับวิถีชีวิต
การรักษาโยใช้ยาปรับวิถีชีวิตร่วมกันใช้ยา
Steped-oneตาม JNL
ชั้นที่1 ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต
ชั้นที่2 ปรับวิถีชีวิตร่วมกับการใช้ยา
ชั้นที่3 ปรับวิถีชีวิต ร่วมกับการเพิ่มขนาดยา เปลี่ยนชนิดยา
ขั้นที่4 ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตร่วมกับการเพิ่มยาขั้นตอนที่3 หรือขับปัสสาวั
ภาวะแทรกซ้อน
สมอง
Stock จาก multiple aneurysm
สับสน ชัก หมดสติ CUA
สมองขาดเลือดจากหลอดเลือดแข็งตัว
ไต
ไตวาย
หัวใจและหลอดเลือด
หัวใจข้างซ้ายล้มเหลวจากแรงต้านหลอดเลือดสูงขึ้น
Dissecting aortic aneurysms จากผนัง aortic ถูกทำลาย
ผนังหลอดเลือดหนาแข็ง→หัวใจโต กล้ามเนื้อหัวใจตาย
ตา
หลอดเลือดที่ตาตีบบวมมีเลือดออก