Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น 36/2…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจของเด็กแต่ละวัย
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง / นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง / นาที
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง / นาที
การหายใจปีกจมูกบาน
หายใจลำบาก
ขณะหายใจเข้ามีการบานของปีกจมูกทั้งสองข้าง
เพื่อช่วยขยายท่อทางเดินหายใจ
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง (Retraction)ของกระดูกหน้าอกช่องระหว่างซี่โครงและใต้ซี่โครง
เสียงหายใจผิดปกติ
crepitation sound
เกิดจากการที่ลมผ่านท่อทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
rhonchi sound
มีการไหลวนของอากาศผ่านเข้าไปทางเดินหายใจที่ตีบแคบกว่าปกติ
เกิดจากการที่ลมผ่านไปในท่อทางเดินหายใจที่ผิดปกติ
wheezing
หลอดลมฝอยเกิดการบีบเกร็ง
Stridor sound
เกิดจากการตีบแคบบริเวรกล่องเสียง
กลไกการสร้างเสมหะ
มี 3 กลไก
การพัดโบกของขนกวัด
การไอ
กระบวนการสร้างสารมูก
ลักษณะของเสมหะ
เสมหะเหนียว
เสมหะไม่เหนียว
หลักการให้คำแนะนำดูแลเด็ก
ถ้าบวมก็ให้ยาลดบวม ถ้าอักเสบติดเชื้อก็ให้ยา ATB
ทางผ่านออกซิเจนต้องมีการแลกเปลี่ยนก๊าซได้
การให้ออกซิเจนเลือกตามความเหมาะสมกับเด็กตามแผนการรักษาของแพทย์
หอบหืด Asthma
อาการ
บางรายมีอาเจียนร่วมด้วย
หวัดไอ มีเสมหะ
ความรุนแรง
ขั้นปานกลาง ตื่นกลางคืนบ่อยๆ วอ่งเล่นซนไม่ค่อยได้
ขั้นรุนแรง กระสับกระส่ายจนนอนไม่หลับเล่นซนไม่ได้
ขั้นเล็กน้อย เริ่มไอมีเสียงหวีดเล่นส่งได้ตามปกติ
พยาธิสภาพ
ทำให้หลอดลมตีบแคบลง
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว
การรักษา
ยาขยายหลอดลม (Relievers)
บางรายอาจได้รับยาพ่น
ยาลดการอักเสบของหลอดลม
เป็นภาวะที่มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ควันบุหรี่
ไรฝุ่น
อากาศเย็น
หลอดลมอักเสบ
มีการอักเสบและอุดกั้นของหลอดลม
กลไก
มีการคั่งของเสมหะ เกิดการอุดกั้นของหลอดลมฝอย
เชื้อไวรัสทำลายเนื้อเยื่อของหลอดลมฝอย
เชื้อที่พบบ่อย RSV
อาการ
ต่อมาเริ่มไอเป็นชุดๆ ร้องกวน หายใจเร็ว หอบ
ไข้หวัดเพียงเล็กน้อย มีน้ำมูกใส จาม
พบในเด็กเล็กมากกว่าเด็กโต
การรักษา
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาขยายหลอดลม
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ
Croup
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ H.infiuenae - A.steptococus
การอักเสบที่บริเวณ ฝาปิดกล่องเสียง กล่องเสียง
อาการ
inspiratorystridor หายใจเข้ามีเสียงฮืด
ไอเสียงก้อง Barking cough
ไข้เจ็บคอหายใจลำบาก
อาการน้ำลายไหล
อาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียง
ปัญหาสำคัญที่ต้องดูแล
การเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ไซนัสอักเสบ
ระยะของโรค
Chronic sinusitis อาการต่อเนื่องเกิน 12 สัปดาห์
Acute sinusitis ไม่เกิน 12 สัปดาห์
การวินิจฉัย
CT scan ได้ผลดีกว่าวิธีอื่น
การตรวจด้วยการส่องไฟผ่าน
X-ray ควรทำในเด็กที่อายุเกิน 6 ปี
สาเหตุ
เกิดจากติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา
การดูแลรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้แพ้ในรายที่อักเสบเรื้องรัง
ให้ยา Steroid เพื่อลดอาการบวมลดการคั่งของเลือดที่จมูก
ทอลซิลอักเสบ
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ
ไอ เจ็บคอ
การดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัด Tonsillectomy
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อสะดวกต่อการระบายเสมหะ
สังเกตอาการการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
รับประทานอาหารเหลว
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
ปอดบวม
อาการ
ไข้ ไอ หอบ
ดูดน้ำ นม น้อยลง
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้
ดูแลแก้ไขปัญหาพร่องออกซิเจน ให้ยาขยายหลอดลม
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อแบคทีเรียไวรัส
การพยาบาล
สอนการไออย่างถูกวิธี
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีราะสูง
ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น 36/2 เลขที่ 65 รหัสนักศึกษา 612001146