Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะท้องผูกในผู้สูงอายุ, นางสาวสุชานาถ ชมชื่น ชั้นปีที่ 2 รุ่นที่ 26 ห้อง…
ภาวะท้องผูกในผู้สูงอายุ
-
-
-
การป้องกันและแก้ไข
รับประทานอาหารที่มีกากหรือเส้นใยอาหารให้มากขึ้น อาหารที่มีเส้นใยพบมากในผัก เช่น ผักใบเขียวต่างๆ เช่น ผักคะน้า ผักโขม กวางตุ้ง ผักกาดหอม ผลไม้ทุกชนิด เช่น กล้วย สับปะรด ส้มโอ
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ไม่มีกากใย เช่น ครีม เนย เนื้อสัตว์ติดมัน มันทอด และขนมหวานต่างๆ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง สังขยา
ดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว โดยเฉพาะเวลาตื่นนอนตอนเช้า ควรดื่มน้ำ 2-3 แก้ว เพื่อกระตุ้นการทำงานของลำไส้ (ถ้าแพทย์ไม่ได้จำกัดน้ำดื่ม)
-
ขับถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลาทุกวัน และไม่ควรรีบเร่งจนเกินไป ซึ่งตำราโบราณถือว่า เวลา 05.00-07.00 น. เป็นช่วงเวลาที่ลำไส้ใหญ่ทำงานได้ดีที่สุด หรือจัดสถานที่ขับถ่ายให้เหมาะสม
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
Sigmoid volvulus: มีการบิดตัวของ sigmoid colon ที่ยาวและขยายใหญ่ เนื่องจากการกินอาหารที่มี fiber สูง มี bulky stool
-
-
ท้องผูกเรื้อรัง ลักษณะที่เห็นคือ ลาไส้ใหญ่จะมีการขยายพอง และมี double loop หรือ loop ที่มีลักษณะคล้ายเกือกม้า ยื่นจากบริเวณ pelvis ไปยัง upper abdomen
-