Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3.6 - 3.7 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน - Coggle Diagram
บทที่ 3.6 - 3.7 การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
ระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
บาดเจ็บกระดูก
และข้อ
ระวังเสียเลือดอาจเกิด Hypovolemic shock ได้
Pelvic fracture
Open fracture
Compartment syndrome
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม
ปวดมาก
Pulmonary embolism
กระดูกหัก Multiple
long bone fracture
Primary survey และ Resuscitation
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ
Hemorrhage shock ได
การ Control bleeding ดีที่สุด
คือ Direct pressure
ด้วย Sterile pressure dressing
กระดูกผิดรูป
Splint ให้เหมาะสม
ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของ
ตำแหน่งที่กระดูกหัก
เพื่อลดอาการปวด
ลดการขยับเลือน
IV ทางหลอดเลือดดำ
ให้ O2 ด้วย
Secondary survey
ซักประวัติจากผู้ป่วย ผู้นำส่ง
ผู้ประสบเหตุ
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
การรักษาเบื้องต้น
สถานที่
ตรวจร่างกาย
ตรวจและรักษา Life threatening
และ Resuscitation
ตรวจคร่าวๆ เพื่อ
Screening test
กระดูกแขนขา
ยกแขนขาไม่ได้
กระดูกซี่โครง
เจ็บปวด
กระดูกเชิงกราน
เจ็บปวด
กระดูกสันหลัง
กดเจ็บ บวมผิดรูป
การตรวจอย่างละเอียด
Secondary survey
กระดูกผิดรูป โก่งงอ
หดสั้น หรือบิดหมุน
หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มเีสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
X-ray
Anterior-posterior
ถ่าย 2 ท่าในแนวตั้งฉาก
ถ่ายครอบคลุมส่วนที่หัก
และส่วนปรายทั้ง 2 ด้าน
Definitive care
Recognition
เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก
ข้อเคลื่อนและการบาดเจ็บอื่น
Reduction
การจัดกระดูกให้เข้าที่
ไม่จัดกระดูกใน Impacted fracture
จัดแบบ Close reduction
จัดแบบ Open reduction
Retention
การประคับประคองให้กระดูก
มีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด
ประคองปลายทั้งสองด้าน
ของกระดูกที่หักให้นิ่งที่สุด
Immobilization
จัดกระดูกให้เข้าที่
อย่างเบามือก่อน
โดยจัดให้ได้รูป
ตามธรรมชาติ
ประเมินอาการขาดเลือด
ที่ส่วนปลาย
Splint ก่อนเคลื่อนย้าย
ผู้ป่วยทุกครั้ง
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Pelvic disruption
with Hemorrhage
คำนึงถึงภาวะ
unstable pelvic fracture
การบาดเจ็บของเส้นเลือด เส้นประสาท
Bladder และUrethra
การตรวจร่างกาย
คลำ
กระดูก Pelvic แตก
PR examination
พบ high-riding prostate gland
มีเลือดออกบริเวณ
Urethral meatus
ดู
Scrotum และ Perineum บวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณ
Perineum และ Pelvic
การเคลื่อนไหว
ขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนจะ
พบความดันโลหิตต่ำ
สงสัยส่ง film pelvic AP view
ช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
Fluid resuscitation
consult แพทย์ศัลยกรรมเฉพาะทาง
Major Arterial Hemorrhage
ลักษณะของ
การบาดเจ็บ
หลอดเลือดแดง
เรียกว่า Hard signs
คลำได้ thrill
Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
ฟังได้ bruit
6Ps ได ้แก่ Pain, Pallor,
Poikilothermia, Paresthesia,
Paralysis, Pulselessness
ช่วยเหลือเบื้องต้น
ทำ Direct pressure
Fluid resuscitation
กระดูกผิดรูปให้จัดเข้าที่
และทำ Splint
Crush Syndrome
เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
DIC ได้
อาการ
Dark urine
myoglobin
ได้ผลบวก
ช่วยเหลือเบื้องต้น
Osmotic diuretic
Fluid resuscitation
Urine output ให้ได้ 100 cc./ชั่วโมง
Sodium bicarbonate
Pt จมน้ำ
การจมน้ำ
ตายจากภาวะแทรกซ้อน
ในภายหลัง
ปอดอักเสบ
การเปลี่ยนแปลงของ
ระดับเกลือแร่ในร่างกาย
ภาวะเลือดเป็นกรด
Pulmonary edema
ภาวะปอดไม่ทำงาน
มักตายภายใน
5 -10 นาที
ขาดอากาศหายใจ
ภาวะเกร็งของกล่องเสียง
พยาธิสภาพ
น้ำจืด
ความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด
ที่ปอด จึงถูกดูดซึม
เข้ากระแสเลือด
Hypervolemia
(Na, K) ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือวาย
Hemolysis
น้ำทะเล
มีความเข้มข้นมากกว่า
เลือดที่ปอดจะดูดซึม
น้ำกระแสเลือดเข้าปอด
Pulmonary edema
(Na, K) ในเลือดลดลง
Hypovolemia
หัวใจเต้นผิดจังหวะ วาย ช็อก
อาการ
หมดสติ
หยุดหายใจ
หัวใจอาจหยุดเต้น
ถ้าไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน
ไอมีฟองเลือดเรื่อๆ
ปัจจัย
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง
และมีประสิทธิภาพ
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
ระบบทางเดินหายใจ
และปอด
สูดสำลัก
สารน้ำเข้าไป
Tonicity ของสารน้ำ
Hypotonic solution
Atelectasis
Hypertonic solution
pulmonary damage
Toxicity
Particles และ micro-organism
ไม่มีการสำลักน้ำ
การเปลี่ยนแปลง
ระบบประสาท
cerebral perfusion ลดลง
เกิด Ischemic brain
เกลือแร่และกรดด่าง
acidosis
น้ำจืด
hyperkalemia
hypochloremia
hyponatremia
น้ำเค็ม
hyperchloremia
hypermagnesemia
hypernatremia
อุณหภูมิร่างกายเปลี่ยน
T 37 - 35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไมอยู่
T 35 - 32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 32 - 28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T 28 - 25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T 25 - 21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
คนจมน้ำรู้สึกตัวดี
สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
หยุดหายใจ
เอาน้ำออก
เป่าปาก
คลำชีพจรไม่ได้หรือ
หัวใจหยุดเต้น
นวดหัวใจ
หายใจได้เอง
นอนตะแคงข้างและศีรษะหงายไปข้างหลัง
ห่มผ้าให้เกิดความอบอุ่น
ห้ามกินหรือดื่มทางปาก
ไม่ว่าอาการหนักหรือเบา
ต้องส่ง รพ. ทุกคน