Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ…
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ ของปัจจัยการคลอด
Passage
Soft part : มดลูก ปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ
กล้ามเนื้อ Bony part : กระดูกช่องเชิงกราน
sacral promontery
pubic remi
pubic symphysis
pubic angle
ischial spine
ischial tubercle
ช่องเข้าเชิงกราน (pelvic cavity)
มีลักษณะ เป็นรูปรีตามขวาง มี ขอบเขตด้านหน้าเป็นขอบบน ของกระดูกหัวเหน่า ด้านข้างเป็น linea terminalis ด้านหลงัเป็น promontary of sacrum และมี เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวาง (transverse diameter) ยาวที่สุด ประมาณ 13 เซนตเิมตร
ทางเข้าเชิงกรานแคบ ( Inlet contraction )
• A - P diameter < 10 cms.
• ( ปกต ิ 10.5 cms. )
• Transverse diameter < 12 cms.
• ( ปกต ิ 13.5 cms. )
• Obstetric conjugate < 10 cms.
• ( ปกต ิ 12 cms. )
• Diagonal conjugate < 11.5 cms.
การประเมิน
ตรวจทางหน้าท้อง
ดันยอดมดลูกจะพบว่าศีรษะทารกเกยติดที่ SP.
In labor ---> ศีรษะไม่มีการ Engagement โดยเฉพาะ : G1
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ : ก้น , หน้า ฯลฯ
2.การตรวจทางช่องคลอด
วัด Diagonal conjugate < 11.5 cms.
วัดได้ขอบ 2 ข้างของ Pelvic inlet ---> Transverse diameter ส้ัน
ไม่มีการเคลื่อนลงของศีรษะทารก เมื่อ ดันยอดมดลูก
X - ray
Ultrasound
ประเมิน Biparietal diameter ( ปกติ 9.5 - 9.8 cms. )
การดูแล
• Trial labor ประกอบด้วย
ศีรษะทารกมขีนาดเลก็
ศีรษะทารกมกีารก้มเตม็ที่
ศีรษะทารกมกีารตะแคง
เชิงกรานชนิด Gynecoid
มดลูกหดรัดตัวปกติดี
ปากมดลูกเปิดขยายตามปกติ
เคยผ่านการคลอดทางช่องคลอด
ไม่มโีรคแทรกซ้อน
• ความดันโลหิตสูง
• ทารกในครรภ์ขาด O2
ช่องกลาง ( Mid pelvis)
ลักษณะเป็นท่อโค้งค่อนข้างกลม ขอบเขตจากจุดกึ่งกลางของกระดูก หัวเหน่าถึงรอยต่อระหว่างกระดูก sacrum ท่อนท ี่4 ,5 ด้านข้างเป็น ischial spines เส้นผ่าศูนย์กลาง ตามแนวขวางแคบ (tranverse diameter หรือ Interspinous diameter ปกติยาวประมาณ 10
ช่องกลางเชิงกรานแคบ ( Contrated midpelvis )
Interspinous diameter < 9 cms ( ปกต ิ 10.5 cms )
ผลบวกของ Interspinous diameter และ post sagittal diameter < 13.5 cms ( ปกต ิ 15.5 cms. )
การประเมิน
Ischial spines นูนเด่น
ด้านข้างของเชิงกรานสอบนูนเข้าหากัน
Sacrosciatic notch แคบ
Intertuberous diameter แคบ
ม ี Inlet contraction ร่วมด้วย * มักพบ มีการหยุดชะงัก การเคลื่อนต ่าของส่วนน า
การดูแล
ไม่ควรใช้ Oxytocion
V / E ดีกว่า F / E
แคบมาก เด็กตัวโต ---> C / S
ช่องออกเชิงกราน ( pelvic outlet)
ลักษณะรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มี ขอบเขตด้านหน้าเป็นขอบล่างของ กระดูกหัวเหน่า ด้านหลังจรดปลาย กระดูกก้นกบ ด้านข้างเป็น ischial tuberosity มีเส้นผ่าศูนย์กลางตาม แนวหน้าหลงั (anteroposterior diameter) ยาวที่สุดประมาณ 11.5 เซนตเิมตร
ช่องออกเชิงกรานแคบ Contracted pelvic outlet
• Pelvic arch angle 80 degree
• Intertuberous < 8 cms (ปกติ 10 cms)
การพยาบาล
• การใช้หัตถการช่วยคลอด
Soft Passage
• กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน • ฝีเย็บ
สาเหตุและการดูแล
• การใช้สูติศาสตร์ หัตถการช่วยคลอด
เนื้องอกของมดลูก มีถุงน้ำที่ รังไข่ มะเร็งปากมดลูก
ปากมดลูกผิดปกติ เช่น ตีบ ตัน แข็ง ไม่ยืดหยุ่น เกิดจาก หูด หงอนไก่
ช่องคลอดผิดปกต ิเช่น ตีบ และแคบมาตั้งแต่กำเนิด ประวัติผ่าตัดและ พังผืด
• การใช้สูติศาสตร์ หัตถการช่วยคลอด
• การขยายช่องทางคลอด
• การเสริมการหดรัดตัว ของมดลูก
ปากช่องคลอด และฝีเย็บ ผิดปกติ เช่น แข็งและไม่ยืด
ตำแหน่งมดลูกผิดปกติ ได้แก่ คว่ำหน้า คว่ำหลัง
ปากมดลูกบวม
กระเพาะปัสสาวะเต็ม หรือ มีอุจจาระมาก
Cephalopelvic disproportion(CPD)
ตรวจทางคลินิค
: ตรวจร่างกาย: Martin pelvimeter
ตรวจภายใน : Pelvic examination ; inlet,mid, outlet
Hellis -Muller maneuver กดยอดมดลูก
Munro Kerr maneuver กดศีรษะเด็กเหนือหัวเหน่า
x-ray pelvimetry : กระดูกแตกหัก โรคของกระดูกเชิงกราน
รูปร่างของมารดา : เล็ก ส่วนสูงน้อยกว่า 145 ซม. กระดูก สันหลังคดงอ
ประวัติมารดา : คลอดยาก ตายคลอด ช่วยคลอด อุบัติเหตุ
ตรวจครรภ์เมื่อครบกำหนด : ศีรษะยังลอยอยู่
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่การดำเนินการคลอดผิดปกติ
ประเมินปัญหา ตรวจร่างกาย ตรวจภายใน การหดรัดตัวของมดลูก สภาพทารกในครรภ์ สัญญาณชีพมารดา ปริมาณน้ำเข้า- ออก
วินิจฉัยปัญหา การคลอดนาน ขาดน้ำ ปวด วิตก/กลัว
กิจกรรมพยาบาล ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก ตรวจสภาพทารกในครรภ์ ตรวจสัญญาณชีพมารดา ดูแลการให้สารน้ำ ยา ดูแลผู้คลอด
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35