Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
GROUP 6, :star: สถานการณ์
เด็กชายอายุ 3 ปี มารดาให้ประวัติว่า…
GROUP 6
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1. มีภาวะติดเชื้อเนื่องจากภูมิต้านทานของร่างกายลดลงจากไขกระดูกถูกกดการทำงาน
ทำให้สร้างเม็ดเลือดขาวได้ลดลง
S: มารดาให้ข้อมูลว่า “มีไข้เป็น ๆ หาย ๆไปรักษาที่คลินิกหลายแห่งได้ยาลดไข้มารับประทานแต่ยังมีไข้ตลอด” และ “ป่วยเป็นหวัดและท้องเสียบ่อย”
O: Lab: WBC = 4,300/cu/mm ,Lymp = 38%, Mono= 2%, PMN 5, blast 56% LDH 1,670 U/L Bone marrow aspiration: hypercellular marrow, infiltrated with lymphoblast Vital sign : T= 38.3 °C
- วัตถุประสงค์ ปลอดภัยจากการติดเชื้อ
- เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
- Vital sign ปกติ ; T = 36.5-37.5 °C
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการปกติ ; WBC = 5,000 - 11,000 cells/cu.mm.
- การพยาบาล
- ให้ยา Paracetamol syr. (120 mg/5 ml) 5 ml oral prn q 4 hr. for fever เพื่อลดไข้
- เช็ดตัวลดไข้ โดยใช้ผ้าขนหนูที่มีสัมผัสนุ่ม ชุบน้ำอุณหภูมิห้องแล้วเช็ดย้อนรูขุมขนนาน15นาที
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณภูมิเพื่อประเมินไข้
- คำนวณค่า absolute Neutrophil Count ถ้า < 500 ให้แยกผู้ป่วย
- งดอาหารไม่สุก ผักสด ผลไม้ทั้งเปลือก - รักษาความสะอาดของร่างกาย ผิวหนัง ปาก ฟัน และอวัยวะสืบพันธุ์
อยู่เสมอ เพื่อป้อองกันการสะสมของเชื้อแบคทีเรีย
- ทำความสะอาดสิ่งของเครื่องใช้ให้มีความสะอาดเสมอเพื่อป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
- ส่วมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อเข้าไปให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ
- แนะนำให้ผู้ปกครองหลีกเลี่ยงหรืองดนำเด็กไปเลี้ยงที่ปั๊มน้ำมันเนื่องจากอาการของโรคสามารถเกิดขึ้นได้จาก
การสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชิดกับรังสีและสารเคมี
- เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากมีภาวะซีดจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลงภายในไขกระดูก
- S: -
- O:
- Vital sign: PR 114 ครั้ง/นาที, RR 46 ครั้ง/นาที, O2 sat 93 % room air
- ผิวหนังซีดเล็กน้อย PMI at 4th ICS,
- LAB: CBC: Hb = 9.7 gm% , Hct =20 %
- วัตถุประสงค์ ไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
- เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน เช่น เยื่อบุตาซีด ปลายมือปลายเท้าเขียว ริมฝีปากเขียว ระดับความรู้สึกตัวลดลง capillaly filling time < 2 sec. เป็นต้น
- Vital sign ปกติ ;T=36.5-37.5 °C, P=60-100bpm
- ค่าทางห้องปฏิบัติการอยู่ในช่วงปกติ ; Hb = 11.5 - 15.5 g/dL, Hct = 35 - 45 %
- การพยาบาล
- ดูแลให้พักผ่อนอย่างเพียงพอเพื่อลดการใช้ออกซิเจน จัดท่านอนศีรษะสูง 45 องศา เพื่อให้กระบังลมเคลื่อนต่ำลงปอดขยายตัวได้เต็มที่ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนออกซิเจน
- แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ เนื้อสัตว์ ถั่ว เพื่อเพิ่มการสร้างเม็ดเลือดแดง
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะซีด และ วัด vital sign ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจ เพื่อติดตามภาวะพร่องออกซิเจนหากมีการเปลี่ยนแปลง
- ติดตามผลCBCเพื่อนำไปพิจารณาให้เลือดตามความเหมาะสม
3.เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายเนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำจากไขกระดูกถูกกดการทำงาน
S: มารดาให้ข้อมูลว่า “เห็นมีจ้ำเลือดเพิ่มขึ้นโดยไม่ได้ชน กระทบกระแทกหรือหกล้ม 1 ชั่วโมงก่อน แปรงฟันแล้วมีเลือดออก ”
O: - พบ จุดเลือดออกที่ผิวหนังขนาดไม่เกิน 2 มม. บริเวณแขนและขาทั้ง2ข้าง และมีรอยจ้ำบริเวณลำตัวและขาทั้ง2ข้าง
-Lab: Platelet = 35,000 cell/cu.mm Bone marrow aspiration: hypercellular marrow, infiltrated with lymphoblast
- วัตุประสงค์ :ไม่เกิดภาวะเลือดออก
- เกณฑ์การประเมิน :
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดออกทั้งภายในและภายนอก เช่น ปัสสาวะ/อุจจาระเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน เป็นต้น
- Platelet อยู่ในช่วงปกติ 140,000 - 400,000 cell/cu.mm
- การพยาบาล
- ให้เกล็ดเลือด (Platelet concentration) เพื่อแก้ไขภาวะเลือดออก
- ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาล เพื่อระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ
- หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ เนื่องจากจะทำให้เลือดออกง่ายและหยุดยาก
- แนะนำให้ใช้แปรงฟันที่มีขนอ่อนนุ่มเพื่อป้องกันการมีเลือดออก
- แนะนำให้รับประทานผลไม้วิตามินซีสูง เช่น ส้ม มะละกอ สับปะรด มะม่วง เพื่อเสริมภูมิต้านทานและป้องกันภาวะเลือดออกง่าย
- แนะนำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน
- สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดออกทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เช่น ปัสสาวะ/อุจจาระเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน เป็นต้น เพื่อป้องกันภาวะเลือดออก และให้การพยาบาลได้ทันท่วงที
- ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ เกล็ดเลือด เพื่อเฝ้าระวังภาวะเลือดออกและภาวะแทรกซ้อน
4.ไม่สุขสบายเนื่องจากมีการโตของตับและม้าม
- S:
- O:
- ท้องโตเล็กน้อย
- คลำพบตับโตประมาณ 7 cm below right costal margin
- คลำพบม้ามโตประมาณ 8 cm. below left costal margin
- วัตุประสงค์ เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายมากขึ้น
- เกณฑ์การประเมิน
- ขนาดท้องเล็กลง
- ไม่มีอาการท้องผูก
- การพยาบาล
- แนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย
- หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูงเพื่อลดการทำงานของตับ
- แนะนำให้พักผ่อนให้เพียงพอ
- จัดให้นอนท่าศีรษะสูง 45 องศา
- ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลและเบามือ ไม่สัมผัสบริเวณท้องซึ่งเป็นตำแหน่งของตับและม้ามโดยไม่จำเป็น
-
-
-
-
:star: สถานการณ์
เด็กชายอายุ 3 ปี มารดาให้ประวัติว่า มีไข้เป็น ๆ หาย ๆ ไปรักษาที่คลินิกหลายแห่ง ได้ยาลดไข้มา รับประทาน แต่ยังมีไข้ตลอด 2 สัปดาห์ก่อน มีจ้ำเลือดตามตัวและขาทั้ง 2 ข้าง ไม่เจ็บ มารดาสังเกตเห็นมีจ้าเลือด เพิ่มขึ้นโดยไม่ได้ชน กระทบกระแทกหรือหกล้ม 1 ชั่วโมงก่อน แปรงฟันแล้วมีเลือดออก มารดาจึงนำเด็กส่งโรงพยาบาล แพทย์ตรวจเลือดพบเกล็ดเลือดต่ำ จึงให้ admit
มารดาตั้งครรภ์ปกติ คลอดปกติ น้าหนักแรกคลอด 3,100 กรัม เลี้ยงด้วยนมมารดา 6 เดือนจึงเริ่มอาหาร เสริม ได้รับวัคซีนครบตามกาหนด ป่วยเป็นหวัดและท้องเสียบ่อย บิดาอายุ 36 ปี มารดาอายุ 32 ปี อาชีพทำธุรกิจ ส่วนตัว และเป็นเจ้าของปั๊มน้ำมัน บ้านอยู่ติดปั๊มน้ำมัน บางครั้งนำเด็กมาเลี้ยงที่ปั๊มน้้ำมันด้วย