Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดและการควบคุมโรคติดต่อ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดและการควบคุมโรคติดต่อ
ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
โรคที่มีการผลิตวัคซีนขึ้นใช้ป้องกันได้จัดเป็นโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
มีลักษณะทางระบาดวิทยาที่แตกต่างกัน ด้านคน ด้านเชื้อก่อโรค ด้านสิ่งแวดล้อมและด้านความสัมพันธ์
โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทย
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก วัณโรค
เกิดจากเชื้อไวรัส
โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน ตับอักเสบบี ไข้สมองอักเสบ
เป้าหมาย
ป้องกันโรคในระดับบุคคลเพื่อให้ผู้ที่ได้รับวัคซีนมีภูมิคุ้มกันที่เพียงพอที่จะป้องกัน
ป้องกันโรคในระดับประชากรเพื่อให้ประชาชนมีภูมิคุ้มกันโรค
กำหนดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด ให้วัคซีนป้องกันตับอักเสบบี
ภายใน 7 วันหลังคลอด ให้วัคซีนป้องกันวัณโรค เยื้อหุ้มสมอง
ดำเนินงานสร้างภูมิคุ้มกัน
เลือกวัคซีนที่มีคุณภาพและคุ้มค่า
มีการเก็บรักษาวัคซีนอย่างถูกต้อง
เลือกใช้วัคซีนที่เหมาะสมกับปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
ผู้ให้บริการสามารถให้วัคซีนอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
ทางอาหารและน้ำ
เกิดจากจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนอยู๋ในอาหารและน้ำเข้าสู่ร่างกาย ทางปากโดยการกินอาหารหรือดื่มน้ำ
เชื้อจุลินทรีย์เป็นสาเหตุสำคัญแก่ เชื้อไวรัส แบคทีเรีย โปโตซัวและหนอนพยาธิ
โรคติดต่อ
กลุ่มโรคหนอนพยาธิ โรคพยาธิลำไส้
กลุ่มไร้เอนเทอริค ไข้ไทปอยด์
โรคอาหารเป็นพิษ โรคอาจาระร่วงจากไวรัส
กลุ่มโรคตับอักเสบ โรคตับอักเสบเอ
กลุ่มโรคอุจจาระร่วง โรคอหิวาตกโรค
กลุ่มไขสันหลังอักเสบ โรคโปลิโอ
การดำเนินงานป้องกันและควบคุม
ระดับทุติยภูมิ
ป้องกันความรุนแรงและการเสียชีวิต
ระดับตติยภูมิ
ฟื้นฟูร่างกายหลังการป่วยและป้องกันความพิการ
ระดับปฐมภูมิ
ป้องกันการติดเชื้อและการป่วย
หลักในการป้องกันโรค
การจัดการปัจจัยด้านเชื้อ
การล้าง ปรุงอาหารให้สุก การต้มน้ำ
การจัดการปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงสุขาภิบาล จัดหาน้ำสำหรับดื่มและใช้ จัดให้มีส้วม จัดระบบระบายน้ำเสีย
การจัดการปัจจัยด้านบุคคล
สร้างสุขอนามัยบุคคล สร้างถูมิต้านทานเฉพาะโรคด้วยวัคซีน เสริมสร้างความต้านทานโรคชนิดไม่จำเพาะ
ระหว่างสัตว์และคน
ด้านเชื้อโรค
เชื้อมีความสามารถในการติดต่อการก่อโรคและความรุนแรงของโรคแตกต่างกัน
ด้านสิ่งแวดล้อม
สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรคหรือเป็นพาหะนำโรค มีหลายประเภทและมีบทบาทในวงจรการเกิดโรคหลายแบบแตกต่างกัน
ด้านคน
พฤติกรรมที่เสี่ยงต่อโรค
ภูมิต้านทาน
ที่นำโดยแมลง
เป็นผลจากความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางระบาดวิทยา คือ คน เชื้อก่อโรคและสิ่งแวดล้อม
การดำเนินงานป้องกันและควบคุม
การป้องกันแบบปฐมภูมิ ป้องกันการติดเชื้อและการป่วยอาจทำได้โดยวิธีการจัดการเกี่ยวกับแมลงพาหะด้วยการควบคุม
การป้องกันแบบทุติยภูมิ การป้องกันความรุนแรงและการเสียชีวิตจากโรคทำได้โดยการวินิจฉัยโรคโดยเร็วและให้การรักษาที่มีประสิทธิภาพ
ทางการสัมผัสระหว่างบุคคล
ปัจจัยด้านเชื้อก่อโรค
เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย เชื้อปรสิต เชื้อรา
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
สถานที่อยู่อาศัย การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
ปัจจัยด้านคน
คนเป็นทั้งแหล่งรังโรคและผู้รับโรค พฤติกรรมและภูมิต้านทาน
การดำเนินงานการป้องกันและควบคุม
กำหนดยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมจะมุ่งเน้นการจัดการที่ปัจจัยด้านบุคคลเป็นหลัก
มาตรการการป้องกันโรค
ระดับปฐมภูมิ
ป้องกันการติดเชื้อและการป่วย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พฤติกรรมเสี่ยง
การสำส่อนทางเพศ
มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน
การไอหรือจามโดยไม่ปิดปาก
มีเพศสัมพันธืขณะมีอาการป่วย
ระดับทุติยภูมิ
ลดความรุนแรงของโรค ป้องกันการเสียชีวิตขอผู้ป่วย และลดแหล่งรังโรค