Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดและการควบคุมโรคไม่ติดต่อ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดและการควบคุมโรคไม่ติดต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในไทย
กลุ่มที่ 2. โรคหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารี่ที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน
กลุ่มที่ 3.โรคหัวใจรูห์มาติค คือเป็นผลจากภาวะเรื้อรังต่อเนื่องของไข้รูห์มาติคของลิ้นหัวใจที่เกิดการอักเสบของการติดเชื้อ
กลุ่มที่ 1. โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดในสมอง
โรคหลอดเลือดในสมอง
หลอดเลือดแดงแข็ง ตีบตัน หลอดเลือดอักเสบ หลอดเลือดสมองโป่งพองและแตก ก้อนเลือดจากที่อื่นหลุดมาออุดเส้นเลือด
อาการ ชัก สับสน แขนขาอ่อนแรง
สาเหตุ ความดันเลือดสูง
ปัจจัยเสี่ยง โรคไตวาย ภาวะหัวใจโต โรคจอประสาทตา
สถานการณ์โรคหัวใจและหลอดเลือด
สถิติสาธารณสุขในรอบ 5 ปีพบว่าอัตราการตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมองใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มเติม
ปัจจัยเสี่ยง ครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ สูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง อ้วน ไม่ออกกำลังกาย โรคเบาหวาน
การป้องกันปละควบคุม
ป้องกันโรคปฐมภูมิ
ประเมินปัจจัยเสี่ยง ปรับบริโภคนิสัย ลดน้ำหนัก สร้างปัจจัยส่งเสริมสุขภาพ
ป้องกันทุติยภูมิ
คัดกรองโรคและการรักษาอย่างทันท่วงที
จัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพที่ครบวงจร
จัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพที่เสริมความสม่ำเสมอในการดูแลผู้ป่วย
ป้องกันก่อนปฐมภูมิ
งดผลิตบุหรี่ สุรา ออกกฎหมาย กำหนดนโยบาย
โรคมะเร็ง
Autonomy
เซลล์มะเร็งสามารถแบ่งตัวได้ภายใต้ภาวะที่ไม่เกื้อกูลต่อการแบ่งตัว
Anaplasia
ขาดความเป็นปกติ
Clonality
มีความสามารถในการจับเป็นกลุ่มก้อน
Metastasis
สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรค
ปัจจัยโดยตรงหรือปัจจัยเสี่ยง
สัญญาณเตือน เช่น เป็นตุ่ม ก้อน แผล เป็นต้น
การป้องกันและควบคุม
ระดับบุคคล
บำรุงร่างกาย ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง สังเกตสัญญาณอันตราย ตรวจสุขภาพประจำปี
ระดับชาติ
ความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน ป้องกันระดับมหภาค ป้องกันการสัมผัสสาเหตุ ตรวจมะเร็งระยะเริ่มแรก รักษา
โรคเบาหวาน
ปัจจัยเสี่ยง อายุมากขึ้น พันธุกรรม น้ำหนักเกินและอื่นๆ
คุณภาพชีวิตลดลงจากภาวะ ปลายประสาทตา จอประสาทตาเสื่อม เป็นต้น
เบาหวานประเภทที่ 1 เบาหวานประเภทที่ 2 เบหวานประเภทอื่นๆและเบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
อาการ ปัสสาวะมาก ดื่มน้ำมาก กินจุ เป็นแผลง่าย และอื่นๆ
ป้องกันและควบคุมโรค
ระดับบุคคล
ทุติยภูมิ
คัดกรอง รักษา
ตติยภูมิ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ปฐมภูมิ
ปรับพฤติกรรมการกิน
ระดับชุมชน
โรคคอพอก
สติปัญญาพัฒนาด้อยกว่าปกติ
การเจริญเติบโตของร่างกายต่ำกว่าปกติ
หญิงตั้งครรภ์ที่เกิดมาอาจมีอาการเป็นใบ้ หูหนวก เป็นต้น
การป้องกันและควบคุม
ก่อนปฐมภูมิ
เพิ่มไอโอดีนในอาหาร รณรงค์ประชาสัมพันธ์ และจัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย
ปฐมภูมิ
เสริมไอโอดีน เสริมอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์ เฝ้าระวังการขาดสารไอโอดีน ติดตามผลการคัดกรองทารกแรกเกิด วัจัยและพัฒนาเพื่อแก้ปัญหา
ปัญหาสุขภาพจิต
โรคจิตเภท
กรรมพันธุ์ ชีววิทยา จิตใจ สังคมและวัฒนธรรม มีรอยโรคในระบบประสาท
โรคซึมเศร้า
ความผิดปกติของสารสื่อประสาท พันธุกรรม บุคลิกภาพส่วนตัว โรคทางกาย
โรควิตกกังวล
ประสบการณ์ในอดีต สิ่งคุกคาม สิ่งแวดล้อม เศรษฐานะเปลี่ยนแปลง เป็นต้น
เน้นการดูแลในระยะทุติยภูมิ
สารเสพติด
ต้องการอย่างแรงกล้าที่จะเสพ โน้มเอียงที่จะต้องเพิ่มปริมาณมากขึ้น เมื่อหยุดจะเกิดอาการอด ผู้ใช้ยานานจะเกิดผลร้ายต่อสุขภาพ
สิ่งเสพติดในประเทศไทยประเภท
ธรรมชาติ ฝิ่น กัญชา
กัญชา ทำให้ตื่นเต้น
สังเคราะห์ มอร์ฟีน
แอล เอส ดี ทำให้เกิดภาพลวงตา
การป้องกันและควบคุม
ปฐมภูมิ ให้ความรู้และแนะนำผลกระทบของยาเสพติด
ทุติยภูมิ ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ยา
ตติยภูมิ การหยุดพฤติกรรม ติดยาเสพติด เป็นต้น