Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดการป้องกันโรคและการควบคุมโรคไม่ติดต่อ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดการป้องกันโรคและการควบคุมโรคไม่ติดต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดในไทย
กลุ่ม2 โรคหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารี่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน ภาวะขาดออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
กลุ่ม3 โรคหัวใจรูห์มาติค คือ โรคหัวใจเป็นผลจากภาวะเรื้อรังต่อเนื่องของไข้รูห์มาติตของลิ้นหัวใจที่เกิดการอักเสบของการติดเชื้อสเตร็ปโตคอคไค
กลุ่ม1 อัมพาต ได้แก่ โรคหลอดเลือดในสมอง โรคหลอดเลือดสมองใหญ่หรืออัมพฤกษ์ โรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันและควบคุมโรค
ป้องกันก่อนปฐมภูมิ
งดผลิตบุหรี่ สุรา กำหนดนโยบาย
ป้องกันโรคปฐมภูมิ
ประเมินปัจจัยเสี่ยง ปรับบริโภคนิสัย ลดน้ำหนัก
ป้องกันทุติยภูมิ
คัดกรองโรค จัดให้มีระบบดูแลสุขภาพ
โรคมะเร็ง
คุณสมบัติ
Metastasis
สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย
Anaplsia
ขาดความเป็นปกติ
Autonomy
สามารถแบ่งตัวได้ภายใต้ภาวะที่ไม่เกื้อกูลต่อการแบ่งตัว
Clonality
มีความสามารถในการจับเป็นก้อน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดมะเร็ง
โดยตรงหรือปัจจัยเสี่ยง
สัญญาณอันตราย ได้แก่ เป็นตุ่ม ก้อน แผลที่เยื่อเมือก แผลเรื้อรัง ตกขาว เลือดออกทวารหนัก ท้องอืด เบื่ออาหาร ผอมลง ถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะผิดปกติ
การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง
ระดับบุคคล
ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง
สังเกตสัญญาณอันตราย
บำรุงร่างกาย
ตรวจสุขภาพประจำปี
ระดับชาติ
ป้องกันในระดับมหภาค
ป้องกันการสัมผัสสาเหตุ
ความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน
ตรวจหามะเร็งระยะเริ่มแรก
รักษา บรรเทาอาการและฟื้นฟู
โรคความดันโลหิตสูง
ปัจจัยเสี่ยง:ไตวาย ภาวะหัวใจโต โรคจอประสาทตา
ความดันซิสโตลิก เท่ากับหรือมากกว่า 140 มม.ปรอท
ระดับความดันเลือดสูงทำลายผนังหลอดเลือดและอวัยวะปลายทาง เช่น เส้นเลือดในสมองแตก หัวใจล้มเหลว หลอดเลือดโป่งพอง
ความดันไดแอสโตลิก มากกว่าหรือเท่ากับ 90 มม.ปรอท (ขณะพัก 5-10 นาที ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป)
โรคหลอดเลือดในสมอง
อาการ:ชัก สับสน แขนขาอ่อนแรง
สาเหตุ:ความดันเลือดสูง
เนื้อสมองสูญเสียสมรรถภาพการทำงานจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ตีบตัน หลอดเลือดอักเสบ หลอดเลือดโป่งพองและแตก
โรคเบาหวาน
ปัจจัยเสี่ยง
เช่น อายุมากขึ้น พันธุกรรม น้ำหนักเกิน
คุณภาพชีวิตลดลงจากภาวะ
ปลายประสาทตา จอประสาทตาเสื่อม โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต แผลที่เท้า
4 ชนิด
เบาหวานประเภทที่2
เบาหวานประเภทอื่นๆ
เบาหวานประเภทที่1
เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์
อาการ
ปัสสาวะมาก ดื่มน้ำมาก กินจุ เป็นแผลง่าย คันตัว ผิวหนังและอวัยวะสืบพันธุ์ ตาพร่า มือชา เท้าชา หมดความรู้สึกทางเพศ
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรค
ป้องกันระดับบุคคล
ระดับทุติยภูมิ:คัดกรอง รักษา
ระดับตติยภูมิ:ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระดับปฐมภูมิ:ปรับพฤติกรรมกิน
ป้องกันระดับชุมชน
โรคคอพอก
อาการคอพอก สติปัญญาพัฒนาด้อยกว่าปกติ
การเจริญเติบโตของร่างกายต่ำกว่าปกติ
หญิงตั้งครรภ์ลูกที่เกิดมาอาจมีอาการเป็นใบ้ หูหนวก สติปัญญาด้อยและมีอาการเกร็งกระตุกของกล้ามเนื้อ
การป้องกันและควบคุมโรค
ระยะปฐมภูมิ
เสริมไอโอดีนในน้ำดื่ม
เสริมอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์
เฝ้าระวังการขาดสารไอโอดีน
ติดตามการคัดกรองทารกแรกเกิด
ระยะก่อนปฐมภูมิ
เพิ่มไอโอดีนในอาหาร
ปัญหาสุขภาพจิต
โรคซึมเศร้า
ปัจจัยเสี่ยง:ความผิดปกติของสารสื่อประสาท พันธุกรรม บุคลิกภาพส่วนตัว โรคทางกาย
โรควิตกกังวล
ปัจจัย:ประสบการณ์ในอดีต สิ่งคุกคาม สิ่งแวดล้อม เศรษฐานะเปลี่ยนแปลง
การควบคุมป้องกัน:เน้นดูแลในทุติยภูมิ รักษาตามอาการ ได้แก่ จิตบำบัด ปรับพฤติกรรม
โรคจิตเภท
ปัจจัยเสี่ยง:กรรมพันธุ์ ชีววิยา จิตใจ สังคม
สารเสพติด
การป้องกันและควบคุม
ทุติยภูมิ:ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ยา การให้คำปรึกษา การเยียวยารักษาอาการ
ตติยภูมิ:หยุดพฤติกรรมติดยาเสพติด บำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพ การป้องกันการติดยาเสพติดซ้ำ
ปฐมภูมิ:ให้ความรู้แนะนำผลกระทบที่มีต่อพฤติกรรมของคน
ประเภทสิ่งเสพติดในไทย
กัญชา:ทำให้ตื่นเต้น สนุกสนาน ช่างพูด รับรู้ต่อแสงเสียงผิดไป ความคิดสับสน
สังเคราะห์:มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย ยาบ้า ยาอี ยาเค โคเคน ไอซ์ แอลเอสดี
ธรรมชาติ:ฝิ่น พืชกระท่อม กัญชา
แอลเอสดี:ภาพลวงตา ควบคุมตนเองไม่ได้ ใจเต้นรัว ม่านตาขยาย มือเท้าสั่น เหงื่ออกมาก อารมณ์อ่อนไหว