Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด …
บทที่ 6 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด (การคลอดยาก dystocia)
การคลอดยาก(dystocia)
ลักษณะของการคลอดที่ไม่ได้ดำเนินไปตามปกติ มีความก้าว หน้าของการคลอดล่าช้า หรือมีการหยุดชะงักของความก้าวหน้าในการคลอด
การแบ่งลักษณะการคลอดยาก
1.Prolongation disorder ความผิดปกติเนื่องจาก Latent phase ยาวนาน ในครรภ์แรกระยะ latent phase ยาวนานกว่า 20 ชั่วโมง หรือในครรภ์หลังระยะ latent phase ยาวนานกว่า 14 ชั่วโมง
2.Protraction disorder ความผิดปกติเนื่องจากการเปิดขยายของปากมดลูกล่าช้า หรือการเคลื่อนต่าของศีรษะทารกในระยะ active phase ล่าช้ากว่าปกติ แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
Protracted active phase dilatation
การเปิดขยายของปากมดลูกช้ากว่า 1.2 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์แรก และช้ากว่า 1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง ในระยะ phase of maximum slope (นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 4 เซนติเมตร ถึงปากมดลูกเปิด 9 เซนติเมตร)
Protracted descent
การที่ส่วนนาของศีรษะทารกเคลื่อนต่าลงช้ากว่า 1 เซนติเมตร ต่อ 1 ชั่วโมงในครรภ์แรก และช้ากว่า 2 เซนติเมตร ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
3.Arrest disorders ความผิดปกติเนื่องจากปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อไปหรือส่วนนาของทารกไม่เคลื่อนต่าต่อไป แบ่งได้เป็น 4 แบบ
Prolonged deceleration phase การที่ระยะ Deceleration phase (นับตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 9 เซนติเมตร ถึง 10 เซนติเมตร) นานกว่า 3 ชั่วโมง ในครรภ์แรก และนานกว่า 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
Secondary arrest of dilatation การที่ปากมดลูกไม่เปิดขยายอีกต่อไปนานเกินกว่า 2 ชั่วโมง ในระยะ phase of maximum slope
Arrest of descent การที่ส่วนนาของทารกไม่เคลื่อนต่าลงมาอีกเลยนานกว่า 1 ชั่วโมง ในระยะที่ปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตรไปแล้ว
Failure of descent การที่ไม่มีการเคลื่อนต่าของส่วนนาของทารกลงมาเลยในระยะ Deceleration phase หรือในระยะที่ 2 ของการคลอด
อันตรายและภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาก
ต่อมารดา
1.การติดเชื้อ(infection)จากการตรวจทางช่องคลอด และทางทวารหนักบ่อย หรือในรายที่ถุงน้าทูนหัวแตก
2.ผู้คลอดเหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง (maternal distress)
3.ฝีเย็บบวม และฉีกขาดได้ง่าย เนื่องจากถูกกดอยู่เป็นเวลานานหรือจากการทาหัตถการ
4.เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการทาสูติศาสตร์หัตถการต่าง ๆ
5.ตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกมีการยืดขยายนานทาให้มดลูกอ่อนล้าจนเกิด uterine atony
6.พื้นเชิงกรานยืดขยายเป็นเวลานาน ทาให้มดลูกเคลื่อนต่า ผนังช่องคลอดหย่อนและกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ภายหลังได้
ต่อทารก
1.ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ (fetal distress)ซึ่งเป็นสาเหตุของการตายคลอด (stillbirth) หรือเสียชีวิตหลังคลอด (neonatal death)
2.ติดเชื้อ เมื่อผู้คลอดติดเชื้อโดยเฉพาะ chorioamnionitis ทารกในครรภ์จะติดเชื้อจากผู้คลอดได้ ที่สาคัญคือ pneumonia, gastroenteritis, sepsis, การติดเชื้อบริเวณสะดือ ตา หู
3.อันตรายจากการคลอด ศีรษะทารกจะมีการเกยกันอย่างมาก(excessive molding) หรือเกิดเลือดออกใต้กะโหลกศีรษะ(cephalhematoma) ถ้าได้รับการทาสูติศาสตร์หัตถการ อาจมีอันตรายจากการฉีกขาดของเส้นเลือดและเยื่อหุ้มสมอง เส้นประสาทถูกทาลายหรือกระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุของการคลอดยาก 1.Power (แรง)
ความมาย
แรงที่เกิดจากการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและแรงเบ่งของผู้คลอด
ปัจจัยของแรง
การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ( Hypertonic uterine dysfunction)
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูก มากกว่า 50 มิลลิเมตรปรอทหรือช่วงของการหดรัดตัวแต่ละครั้งน้อยกว่า 2 นาที หรือทั้ง 2 อย่าง
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
ขนาดของทารกและช่องเชิงกรานของผู้คลอดไม่ได้สัดส่วน
ส่วนนาของทารกผิดปกติ (Malpresentation) หรืออยู่ในท่าผิดปกติ (Malposition)
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี
อันตรายต่อผู้คลอด
1.ร่างกายอ่อนเพลีย เกิดภาวะขาดน้า
2.เกิดการติดเชื้อในถุงน้าคร่า เนื่องจากถุงน้าคร่าแตกก่อนคลอดเป็นเวลานาน
3.มดลูกแตกทาให้เสียเลือดมาก และอาจเสียชีวิตได้
4.เกิดการตกเลือดหลังคลอด
5.เจ็บปวดมาก เนื่องจากเซลล์กล้ามเนื้อของมดลูกขาดออกซิเจน
อันตรายต่อทารก
1.เกิดภาวะขาดออกซิเจน (Fetal distress)
2.เกิดการติดเชื้อ
3.ศีรษะทารกถูกกดนาน อาจมีเลือดออกที่ใต้เยื่อบุกะโหลกศีรษะ
การรักษา
1.ให้ยานอนหลับและยาระงับปวดที่มีความแรงพอ เช่น morphine หรือ meperidine จะทาให้หายปวดและสามารถพักได้ หลังจากนั้นมดลูกจะกลับมามีการหดรัดตัวตามปกติ
2.ถ้ามีภาวะ fetal distressต้องรีบผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ( Hypotonic uterine dysfunction)
การหดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดันในมดลูก น้อยกว่า 25 มิลลิเมตรปรอทหรือมีการหดรัดตัวน้อยกว่า 2 ครั้งใน 10 นาที หรือทั้ง 2 อย่าง
สาเหตุ
ร้อยละ 50 ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง
การได้รับยาแก้ปวดหรือยาระงับความรู้สึกมากเกินไป หรือได้รับก่อนเวลาอันควร
มดลูกมีการยืดขยายมากกว่าปกติ ในรายตั้งครรภ์แฝด หรือแฝดน้า
มีความผิดปกติของมดลูก เช่น double uterus, myoma uteri
ขาดการกระตุ้นที่ปากมดลูก พบได้ในรายที่มีส่วนนาไม่กระชับกับปากมดลูก หรือพื้นเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะหรืออุจจาระเต็ม
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
อันตรายต่อผู้คลอด
1.ผู้คลอดเหน็ดเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง (maternal distress) จากการคลอดที่ยาวนาน
การตายของผู้คลอด ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน ทาให้เกิดการเสียเลือดเนื่องจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี การติดเชื้อ และอันตรายที่ได้รับจากการทาสูติศาสตร์หัตถการ
อันตรายต่อทารก
1.โดยปกติการหดรัดตัวของมดลูกที่น้อยกว่าปกติ ไม่มีผลทาให้ทารกขาดออกซิเจน นอกจากมีการคลอดยาวนาน และผู้คลอดอยู่ในสภาพคับขัน จึงจะส่งผลให้ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ (fetal distress)
ติดเชื้อ เมื่อผู้คลอดติดเชื้อโดยเฉพาะการอักเสบของเยื่อหุ้มทารก( chorioamnionitis) ซึ่งเป็นผลจากการคลอดยาวนาน
การรักษา
1.การให้สารน้าที่เพียงพอเพื่อแก้ไขภาวะขาดน้าของผู้คลอด
2.ตรวจดูว่ามีปัสสาวะคั่งค้างในกระเพาะปัสสาวะจนเต็มหรือไม่ ถ้ามีควรสวนออกเพราะอาจทาให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีพอได้
3.ให้ยาระงับปวดในขนาดที่เพียงพอและเหมาะสม
4.ให้การประคับประคองจิตใจ ให้กาลังใจเพื่อให้คลายความกลัวและวิตกกังวล
5.ประเมินและตรวจให้แน่ชัดว่าไม่มีการผิดสัดส่วนระหว่างขนาดของทารกและช่องเชิงกราน มิฉะนั้นอาจเกิดอันตราย เช่น มดลูกแตกได้ ถ้าผู้คลอดได้ oxytocin เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
6.ถ้าถุงน้าคร่ายังไม่แตกหรือรั่ว ควรเจาะถุงน้าคร่าเพราะจะช่วยให้การหดรัดตัวของมดลูกดีขึ้น ภายหลังการเจาะถ้าพบว่าน้าคร่ามีขี้เทาปนแสดงว่าทารกในครรภ์มีภาวะการขาดออกซิเจน จะต้องฟังเสียงหัวใจทารกอย่างสม่าเสมอ และพร้อมที่จะผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องได้ทันทีถ้าทารกมีภาวะ fetal distressระวังว่าภายหลังคลอดอาจเกิดการตกเลือดหลังคลอดได้
ความผิดปกติของแรงเบ่ง
สาเหตุ
ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดในปริมาณมาก
การทำ epidural block
อ่อนเพลียจากคลอดยาวนาน
เหนื่อยล้าจากได้รับน้ำอาหารไม่เพียงพอ
เบ่งไม่เป็น
ผลต่อมารดา
ไม่สามารถคลอดเองได้ ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ผลต่อทารก
ทารกขาดออกซิเจน จากคลอดนาน
สาเหตุการคลอดยาก 4.Psychological
(ด้านจิตใจของมารดา)
สาเหตุ
มีประสบการณ์ที่ไม่ดีในการคลอดที่ผ่านมา
การรับรู้ต่อปัญหาของตนเองไม่ถูกต้อง
รูปแบบการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดล่าช่าและคลอดยาก
ปากมดลูกเปิดช้าลง
ความเจ็บปวดรุนแรงขึ้น
ทารก
หัวใจของทารกเต้นช้าลง
ทารกคะแนน APGAR ต่ำ
บทบาทพยาบาล
มารดา
สังเกตพฤติกรรมการตอบสนองภาวะเจ็บครรภ์
การให้ข้อมูล
การบรรเทาความเจ็บปวด
การสนับสนุนทางอารมณ์
ทารก
ป้องกันการขาดออกซิเจน
การดูแลรักษา
รับยาบรรเทาปวดเพื่อไม่ให้เกิดกลุ่มอาการ fear-tension-pain syndrome
มารดาอ่อนเพลียขาดน้ำ >> ให้ IV
รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การคลอดนั้นเต็มไปด้วยอันตราย อาจถึงตายได้
การคลอดทำให้เกิดความเจ็บปวดรุนแรง
ฮอร์โมน
β-Endorphin, adrenocorticotropic,Cortisone,Epinephrine
Fear –
tension -pain
สาเหตุการคลอดยาก
2.Passenger(สิ่งที่คลอดออกมา)
สาเหตุ
ทารกท่าผิดปกติ
ทารกยังไม่กลับท่าให้อยู่ท่าปกติ
ครรภ์หลัง จากมดลูกหย่อน
แฝดน้ำ
มีสิ่งที่มาขวางช่องทางคลอด
ความผิดปกติของมดลูก/มดลูกอยู่ผิดท่า
คลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยด้านทารก
Fetalpelvic Disproportion
ทารกขนาดใหญ่เกิน 4,000 g
Fetal Mal-position
ผิดปกติเกี่ยวกับการหมุน
ท้ายทอยเฉียงหลัง OPP
ROP
LOP
ท่าศีรษะขวางต่ำ
ผิดปกติเกี่ยวกับทรง
Brow presentation
การคลอดติดขัดช่วยไม่ทันมดลูกแตกได้/ทารกขาดออกซิเจน
Face presentation
มารดา
ปากมดลูกเปิดช้า
ฝีเย็บฉีกขาด
หมุนภายในช้ากว่าปกติ
ทารก
สายสะดือพลัดต่ำ
ทารกใบหน้าบวมช้ำ โดยเฉพาะปาก
Breech presentation
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดยาวนาน
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ติดเชื้อ
การฉีกขาดของหนทางคลอด
ทารก
กระดูกหักข้อเคลื่อน
อันตรายต่ออวัยวะภายใน
เลือดออกในสมอง
Fetal Mal-presentation
สาเหตุ
พบในมารดาครรภ์หลัง
คลอดก่อนกำหนด
รกเกาะต่ำ
มดลูกผิดปกติ
เชิงกรานแคบ
ผลกระทบ
มารดา
ติดเชื้อ
มดลูกแตก
ฉีกขาดของช่องคลอด
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ทารก
ทารกตายในครรภ์
Twins pregnancy
สาเหตุ
เชื้อชาติ
กรรมพันธุ์
อายุ
จำนวนครรภ์
การดูแล
ป้องกันการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ป้องกันความดันโลหิตสูงระยะตั้งครรภ์
สาเหตุการคลอดยาก 3.Passage (หนทางคลอด)
ไม่ได้สัดส่วนกันของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (CPD)
ซักประวัติ
เกิดอุบัติเหตุที่กระดูกเชิงกราน
มีประวัติคลอดยาก แต่ทารกคลอดขนาดปกติ
ประวัติทารกตายหลังคลอดไม่นาน
มารดาเตี้ยกว่า 135 cm
รายที่สงสัยเป็น CPD
ผลกระทบ
มารดา
การคลอดยาวนาน >> มารดาอ่อนเพลีย, ขาดน้ำ, ภาวะคีโตซิส
การคลอดติดขัด >> มดลูกแตก >>มารดา/ทารกเสียชีวิต
ทารก
ถุงน้ำทูนหัวแตกก่อนเวลา >> ทารกเกิดการติดเชื้อ/สายสะดือย้อย >>ทารกเสียชีวิตได้
ความผิดปกติของหนทางคลอด
เกิดการแท้ง,
คลอดก่อนกำหนด,
เนืองอกปิดกั้นหนทางคลอด,
ตกเลือดหลังคลอด
มดลูกคว่ำหน้า หรือคว่ำหลังมากเกินไป >>
ปากมดลูกเปิดช้า/ไม่เปิด
ปากมดลูกผิดปกติ >> ตีบตัน,
แข็งไม่ยืด, ฉีกขาด
ช่องคลอดผิดปกติ >> แคบ/ตีบ
กระเพาะปัสสาวะโป่ง
ผลกระทบ
มารดา
คลอดยาวนาน มารดา
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเวลา
คลอดติดขัด ทำให้มดลูกแตกได้
เกิดเนื้อตาย
การช่วยคลอดทำให้เนื้อเยื่อมารดาถูกทำลาย
ทารก
สายสะดือย้อย
เลือดออกกระโหลกศีรษะ
เกิดอันตรายต่อระบบประสาทส่วนกลาง
เกิดการติดเชื้อ
เนื้องอกของมดลูก (Myoma
uterine)
**ปัจจัยของหนทางคลอดกระดูก
เชิงกรานแคบ**
สาเหตุ
การเจริญเติบโตผิดปกติ
ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมบูรณ์
โรคกระดูก
เชิงกรานแตก/ร้าว
ชนิด
เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (Inletcontraction)
เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง
(Midpelvic contraction)
เชิงกรานแคบที่ช่องออก (Outlet contraction)
Shoulder presentation
นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัสนักศึกษา 602701020