Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวคณิตา โคตรสุข…
บทที่1
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Family Centered สิทธิเด็ก
ดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
Pain ภาวะเจ็บปวด
ก่อนเรียน
ให้ครอบครัวช่วย
เรียน
อธิบาย พูดคุยทำความเข้าใจ
ทารก
อุ้ม สัมผัสทำหัตถการ
วัยรุ่น
อธิบายเหตุผลแบบผู้ใหญ่
เครื่ิองมือที่ใช้วัดความเจ็บปวด
CHEOPS
3-6ปี
FACE SCALE
3-8ปี รู้สึกตัวดี ให้คะแนนไม่ได้
FLACC
1เดือน-3ปี
Numeric rating scale
มากกว่า8ปี ให้คะแนนได้
NPS
ทารก 1-10 เดือน
Behavior pain scale
ภาวะวิกฤต
Street and coping
เด็ก
พลัดพลาก
วัยรุ่น
เสียภาพลักษณ์
Separation Anxiety (3เดือนถึง6ปี)
ระยะหมดหวัง
ซึมเศร้า นอยด์
ปลอบโยนใกล้ชิด
ระยะปฏิเสธ
ประชด ปฏิเสธบิดามารดา
ง้อ แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
ระยะประท้วง
ร้องไห้เสียงดัง กรีดร้อง
ให้ของแทนใจ
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
ระยะเรื้อรัง
ลดความรู้สึกแตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
ระยะสุดท้าย
ระยะโกรธ
ระยะต่อรอง
ระยะซึมเศร้า
ระยะตกใจ
ระยะยอมรับ
เป้าหมายในการดูแล
คงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
ให้เด็กตายอย่างสงบไม่มีอาการปวด
เจ็บปวด ใจ ต้องการ
ความตาย
ก่อนเรียน
ตายแล้วฟื้นได้
วัยเรียน
6-8ปี
ไม่หายใจ
9-12ปี
เกิดเฉพาะคนแก่ กลัวผี
หัดเดิน
สูญเสียผู้ดูแล
วัยรุ่น
จากไปอย่างถาวร
ทารก
ไม่มีปฏิกิริยา เครียดจาก หิวเจ็บ พลัดพราก
นางสาวคณิตา โคตรสุข รหัสนักศึกษา 612901013
ชั้นปีที่3