Acute Glomerulonephritis : AGN

อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล (CC)

Physical exam

พยาธิสภาพ

ประวัติความเจ็บป่วยในปัจจุบัน (PI)

4 วันก่อน มีหนังตาบวม ขาบวม ปัสสาวะออกน้อยลงและสีเข้มขึ้น

วันนี้บ่นปวดศีรษะ ไม่มีปวดท้อง ไม่มีผื่นตาม ร่างกาย แต่ยังบวมอยู่ จึงมา รพ.แม่จัน วัดความดันโลหิตขณะพักได้ 160/100 mmHg จึงส่งตัวมา รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์

2 สัปดาก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ เจ็บคอ มารดาซื้อยาฆ่าเชื้อให้รับประทาน 5 วัน หลังรับประทานยาครบไม่มี ไข้และเจ็บคอ

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

Temp 37.5 องศาเซลเซียส
PR 100 ครั้ง/นาที
RR 20 ครั้ง/นาที
BP 164/110 mmHg
O2 sat 98%
BW 57.8 kgs. High 164 cm.
facial edema, periorbital edema,
non-pitting edema of both legs, No other abnormal findings

เด็กชายอายุ อายุ 14 ปี 2 สัปดาห์ก่อน มีไข้ เจ็บคอ มารดาซื้อให้รับประทาน 5 วัน หลังรับประทานยา ครบไม่มีไข้และเจ็บคอ 4 วันก่อน มีหนังตาบวม ขาบวม ปัสสาวะออกน้อยลงและสีเข้มขึ้น วันนี้บ่นปวดศรีษะ ไม่มีปวดท้อง ไม่มีผื่นตามร่างกาย แต่ยังบวมอยู่ จึงมา รพ.แม่จัน วัดความดันโลหิตขณะพักได้ 160/100 mmHg จึงส่งตัวมา รพ.ชร. มีตาเป็นโรคความดันโลหิตสูง ยายเป็นโรคเบาหวาน พ่อแม่สุขภาพแข็งแรง อาชีพทำสวน เด็กเป็นบุตรคนเดียว ได้รับวัคซีนครบ ไม่มีโรคประจำตัว ไม่แพ้ยาหรืออาหารใดๆ เรียนชั้นม. 2 ผลการเรียนปานกลาง ชอบเล่นฟุตบอล

1.มีภาวะน้ำและของเสียคั่ง เนื่องจากประสิทธิภาพในการทำงานของไตลดลง

Laboratory

CBC: Hb 11 g/dl Hct 33% WBC 8,700 cell/cu.mm Neutrophil 68% Lymphocyte 15% Monocyte 7%, plt 315,000 cumm. ASO titer 380 Todd unit, C3 complement 176 mcg/ml

UA: Sp.gr 1.020 Protein1+ red blood marked positive RBC 110 cell/HPF Chest X-ray: finding pulmonary congestion

BUN 25 mg/dl serum creatinine 0.8 mg/dl Albumin 38 g/L Chol 140 mg/dL

การอักเสบของหลอดเลือดฝอยในไตเกิดขึ้นภายหลังติดเชื้อ Streptococcus ซึ่งกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดี้ขึ้นแล้วจับกับแอนติเจนกับเชื้อกลายเป็น Antigen-Antibody Complex กระจายไปตามกระเเสเลือดแล้วไปเกาะหลอดเลือดฝอยในไต รวมทั้งมีการ กระตุ้นคอมพลีเมนต์ในกระแสเลือดให้เกิดกระบวนการอักเสบขึ้น ส่งผลให้หลอดเลือดฝอยบวม เลือดไหลผ่านกลูเมอรูลัสได้ยากขึ้น ประสิทธิภาพการกรองไตจึงลดลง และความสามารถในการซึมผ่าน (Permeability ) ลดลง ทำให้เกิดการคั่งของน้ำและของเสียมากขึ้น

อาการและอาการแสดง

ถ่ายปัสสาวะมีเลือดปน (Hematuria)

ถ่ายปัสสาวะมีโปรตีน (Protienuria)

ถ่ายปัสสาวะน้อย (Oliguria) หรือไม่ถ่ายปัสสาวะ (Anuria) หรือปัสสาวะลำบาก (Dysuria)

ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

บวม (Edema)

S:- ผู้ป่วยให้ประวัติว่า “มีหนังตาบวม ขาบวม ปัสสาวะออกน้อยลงและสีเข้มขึ้น”
O: - BP ขณะพัก 160/100 mmHg. ณ โรงพยาบาลแม่จัน

 - BP 164/110 mmHg ณ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ 
 - facial edema, periorbital edema 
 - BUN 25 mg/dl 
 - serum creatinine 0.8 mg/dl 
 - UA : Protein1+, red blood marked positive RBC 110 cell/HPF :

2.เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง

S: - ผู้ป่วยให้ประวัติว่า “2 สัปดาห์ก่อน มีไข้ เจ็บคอ มารดาซื้อยาฆ่าเชื้อให้รับประทาน 5 วัน หลังรับประทานยาครบไม่มี ไข้และเจ็บคอ”
O: - WBC 8,700 cell/cu.mm
-Neutrophil 68%

  1. ไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดศีรษะ

วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่มีภาวะติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมิน :

  • อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.5 องศาเซลเซียส
  • WBC 5,000-10,000 cell/cu.mm

การพยาบาล :
1.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา Amoxicillin 500 mg (2 caps) PO bid pc และสังเกตอาการข้างเคียง

  1. ดูแลเรื่องสุขอนามัยส่วนบุคคล เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรค
  2. ดูแลผิวหนังให้สะอาดและแห้งอยู่เสมอ เนื่องจากอาการบวมอาจทำให้ผิวหนังแตกเป็นช่องทางให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย
  3. วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง และสังเกตอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบต่างๆ
    5.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ผล CBC, H/C เป็นต้น
  4. ให้ความรู้แก่เด็กป่วยและบิดามารดา เน้นความสำคัญของการติดเชื้อ

วัตถุประสงค์ : ผู้ป่วยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการมีภาวะน้ำและของเสียคั่ง ได้แก่ ภาวะช็อคและความดันโลหิตสูง

เกณฑ์การประเมินผล : BP อยู่ในเกณฑ์ปกติ 120-129/80-84 mmHg.
ไม่บวมตามร่างกาย
ผลทางห้องปฏิบัติการ เช่น ค่า BUN creatine UA ปกติ

S: ผู้ป่วยบอกว่า "ปวดศีรษะ"
O : -

วัตถุประสงค์ : บรรเทาอาการปวดศีรษะ
เกณฑ์การประเมินผล :

  • ผู้ป่วยไม่มีอาการปวดศีรษะ หรือ pain score ลดลง
  • สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • มีสีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส

การพยาบาล :

  1. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Paracetamol (500 mg)1 Tab oral q 4 hr prn ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อบรรเทาอาการปวด
  2. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนที่เพียงพอ เพื่อบรรเทาอาการปวดและลดการขยับร่างกาย ซึ่งจะกระตุ้นทำให้ปวดมากขึ้น
  3. แนะนำเทคนิคความผ่อนคลาย (Relaxation technique) โดยการฝึกการหายใจ เพื่อทำให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลาย และเบี่ยงเบนความสนใจจากอาการปวด
  4. จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบและมีอากาศถ่ายเท เพื่อลดปัจจัยกระตุ้นในการปวดศีรษะ
  5. ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินและติดตามอาการหลังให้การพยาบาล

การพยาบาล
1.ติดตามค่าความดันโลหิตและสังเกตอาการ ปวดศีรษะ อาเจียน มึนงง สับสน
2.ดูแลให้ได้รับยา Furosemide 60 mg IV q 6 hr. ตามแผนการรักษาและสังเกตอาการข้างเคียง
3.จำกัดกิจกรรมและให้พักผ่อนอยู่บนเตียง เพื่อป้องกันภาวะความดันโลหิตสูง
4.ดูแลให้ได้รับประทานอาหารรสจืด เช่น แกงจืดเต้าหู้หมูสับ ต้มจับฉ่าย ข้าวต้มปลา เป็นต้น เพื่อลดอาการบวมและป้องกันความดันสูง และจำกัดอาหารประเภทโปรตีน เพื่อป้องกันค่า BUN ในเลือดสูง
5.งดอาหารที่มีโพแทสเซียมสูงชั่วคราว เพราะอาจมีปัสสาวะน้อยทำให้เกิดการคั่งของโพแทสเซียมในกระแสเลือด เพื่อป้องกันการเกิดถาวะหัวใจหยุดเต้น
6.บันทึกปริมาณน้ำดื่ม/ปัสสาวะ และชั่งน้ำหนักตัวทุกวัน เพื่อประเมินภาวะน้ำเกินในระบบไหลเวียน ซึ่งส่งผลให้มีความดันโลหิตสูง
7.ประเมินอาการของภาวะของเสียคั่งในร่างกาย เช่น มึนงง สับสน ปัสสาวะออกน้อย คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น เพื่อให้การดูแลและช่วยเหลือให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น และเป็นการเฝ้าระวังภาวะอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วย
8.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นประจำ ได้แก่ ค่า BUN และ Creatinine เพื่อติดตามการดำเนินและการรักษาของโรค

pngtree-surprised-boy-png-image_3399593

r1_23

หนังตาและขาบวม ปัสสาวะออกน้อยสีเข้ม 4 วันก่อนมาโรงพยาบาล

unnamed

252-2526211_banner-stock-clip-art-cartoon-hand-transprent-png