Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ
ในรายที่มีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ผลกระทบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรรักษา
ระยะก่อนการคลอด
การเจาะน้ำคร่ำ (amniocentesis)
ควรหลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์
หัตถการเพื่อการช่วยคลอดโดยไม่จำเป็น
พิจารณาความจำเป็นในการให้ยาต้านไวรัสจาก HBeAg หากผลเป็นบวกหรือหากมารดามีปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mLแนะนำ
ให้เริ่มยาต้านไวรัสในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์โดยเริมที่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
ระยะหลังคลอด
ด้านมารดาควรรับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. วันละ1ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
ดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution ในหญิงตั้งครรภ์ที่มีการ
ติดเชื้อแต่ผลเลือด มีanti HBV น้อยกว่า 10IU/ml
ควรได้รับวัคซีนดังนี้
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) (400IU) ขนาด ๐.๕ ml. ฉีดเข้ากล้ามทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด ภายใน 7 วันและให้ซ้ำภายใ 1 เดือนและ 6 เดือน
Hepatitis B Vaccine ภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอดใน
ขนาด ๐.๕ ml. ฉีดเข้ากล้าม หลังจากนั้น ฉีดต่อเนื่องเมื่อายุครบ 1, 2, 4 และ 6 เดือน
กรณีที่ทารกมมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,000 กรัมก็สามารถฉีดวัคซีนได้ทันที โดยให้
นับเป็นการฉีดเข็มพิเศษไม่นับเป็นเข็มแรก
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ
ระยะตั้งครรภ์
1.การคัดกรองโดยการซักประวัติ
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
3.ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวกรณีที่มีการติดเชื้อเพื่อป้องกันการการแพร่กระจายและ
ความรุนแรงของโรค
ระยะคลอด
1.ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัสเลือดสารคัดหลั่ง โดยใช้หลักuniversal Precaution
2.ดูแลให้การคลอดดำเนินไปตามปกติ
3.ดูแลทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal precaution
ระยะหลังคลอด
1.ให้คำแนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ 2.ประเมินภาะหัวนมแตกและส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาอย่างเดียว 6 เดือน
3.แนะนำการคุมกำเนิดและการวางแผนครอบครัวอย่างเหมาะสม
4.แนะนำการปรับบตัวด้านจิตสังคม การผ่อนคลายความเครียด
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม
2.การตรวจน้ำลายและการตรวจเลือด (Saliva & Blood Test)
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงา อยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อทารก
หูหนวก
โดยอาจเริ่มแสดงอาการตอนอายุ 2ขวบ หรือนานกว่านี้ก็ได
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
ในระยะ 3 เดือนแรกแพทย์จะแนะนำให้ยุติ การตั้งครรภ์ “Therapeutic abortion”
รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์แพทย์อาจ พิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอจิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
ซิฟิลิส (Syphilis)
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจ VDRL หรือ RPR
FTA-ABS(Fluorescent Treponemal
Antibody Absorption Test)
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
ซิฟิลิสปฐมภูมิ(primary syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน เป็นระยะที่มีแผลริม แข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ ต่อมน้ำเหลืองโตกดไม่เจ็บ จะเป็น แผล1-5 สัปดาห์จะหายไปเอง
ซิฟิลิสทุติยภูมิ(secondary syphilis) อาการสำคัญคือผื่นในช่วง 2-3 สัปดาห์หลังจา แผลริมแข็งหายแล้ว ผื่นที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะสีแดงน้ำตาลไม่คัน พบทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าอาจมีไข้หรือ ปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ ต่อน้ำเหลืองโต ผมร่วง
ซิฟิลิสระยะแฝง (latent syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เป็นช่วงที่ไม่มีอาการ
ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ(tertiary or late syphilis) หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี เชื้อจะ ทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจและหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
ทารกตาบอด
การรักษา
การรักษาระยะต้น ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว แบ่งฉีดที่ สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การรักษาระยะปลาย ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายความสำคัญของการคัดกรองความเสี่ยงของโรคผลต่อทารกในครรภ ์
ส่งคัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ ์ 28-32 สัปดาห์ หรือห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6และ 12เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
ระยะหลังคลอด สามารถให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนำรับประทานยาและกลับมาตามนัดติดตามผลการรักษา
ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
การวินิจฉัย
การซักประวัติปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกรอบทวารหนัก ปากช่องคลอด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยทำ pap smear พบการ เปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
อาการและอาการแสดง
หูดขึ้นรอบๆ ทวารหนักและในทวารหนัก
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
ดอนสีชมพูนุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเกด คล้ายดอกกระหล่ำ
การรักษา
จี้ด้วย trichloroacetic acid
จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธ์
แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การออกกำลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
โรคเอดส์ (Acquired immune defiency syndrome)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน อาการทางคลินิก
การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme–linked Immunosorbent assay (ELISA)
การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB) และ Immunofluorescent assay (IFA) ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์
อาการและอาการแสดง
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิกการตรวจ Elisa ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส ์ คือไข ้ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลียผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส ์ อ คือมีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆ นานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลือง โตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิด ไร้เชื้อร่วมด้วย
การรักษา
การให้ยา antiretroviral
ยากลุ่ม Nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
ยากลุ่ม Non-nucleoside analogues reverse transcriptase inhibitor
ยากลุ่ม Protease inhibitors
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์ มิลิลิเมตร อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา)
แนะนำวิธีการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ ในห้องแยกป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำคลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./
กก./วัน และติดตามการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
จัดให้อยู่ในห้องแยก
การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ อาการการเดินทางลักษณะที่อยู่อาศัย
การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วย วิธี ELISA หรือImmunofluorescence
วิธีการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR ภายใน 1-3 วันเมื่อเริ่มแสดงอาการ
การวินิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์ สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่งส่งตรวจ เช่น น้ำคร่ำ เลือดจากสะดือหรือรก
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ
ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา
ปวดข้อปวดในกระบอกตาเยื่อบุตาอักเสบ
การรักษา
ยังไม่มียารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ2,000-3,000 ลิตรต่อวัน
รักษาประคองไปตามอาการ เช่น การให้ยาพาราเซตามอล
เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้ แต่ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือยากลุ่มลดการอักเสบ ์ (NSAIDs)
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
อาากรและอาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน ้าเหลืองโต และอ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
การซักประวัติปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวด ร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture) โดยใช้ของเหลวที่ได้จากตุ่มใสที่แตกออกมาหรือการขูดเอา จากก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzancksmear ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผล แล้วย้อมสี Wright หรือ Giemsa เพ ื่อด ูmultinucleated giant cells
การรักษา
ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อแผลไม่สะอาด
การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ 2-3 ครั้งแนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน้ำอุ่น
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
นางสาวจีรวรรณ เต็มเปียง
รหัสนักศึกษา602701010