Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ…
บทที่๖ การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติ ของปัจจัยการคลอด
การคลอดที่ยาวนาน การคลอดที่ไม่ดำเนิน ไปตามปกติ ขบวนการ คลอดผิดปกติ มัก สัมพันธ์กับ องค์ประกอบการคลอด
สาเหตุ
Passenger
Power
Passage
Psychological
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาก : มารดา
Maternal exhaustion มารดาอ่อนเพลีย
Intrapartal infection ติดเชื้อในระยะคลอด
Trauma of birth canal ช่องทางคลอดชอกช ้า
Uterine rupture มดลูกแตก
Psychological complication ภาวะแทรกซ้อนทางจิตใจ
Maternal death มารดาเสียชีวติ
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาก : ทารก
Fetal distress ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
Fetal infection ทารกติดเชื้อ
Birth injury ทารกบาดเจ็บจากการคลอด
Fetal asphyxia ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกคลอด
Fetal morbidity ทารกพิการ
Perinatal death ทารกตายปริกำเนิด
เครื่องมือการประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
WHO - PARTHOGRAPH
กราฟแสดงความก้าวหน้าของการคลอด
ความผิดปกติของการคลอด
(Prolong)
ความก้าวหน้าของการ คลอดล่าช้า
Arrest การหยุดชะงักของ ความก้าวหน้าของ การคลอด
การจำแนกลักษณะการคลอดยาก
Prolongation disorder
สาเหตุ
• การได้รับยาแก้ปวดเกินขนาด
• ปากมดลูกไม่พร้อม
• False labour
• ทารกท่าผิดปกติ
• การหดรัดตัวของมดลูก
• เชิงกรานผิดปกติ
Protraction disorder
การดำเนินการเจ็บครรภ์ช้ากว่าปกติ
ล่าช้า
Protraction disorder
1.2 1.5
Protracted active phase dilatation
1 2
Protracted descent
Arrest disorder
ไม่มีความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์
Arrest disorder
Prolong deceleration phase
Secondary arrest of dilatation
Arrest of descent
Failure of descent
สาเหตุ
• การได้รับยาแก้ปวดเกินขนาด
• CPD
• Malposition ทารกท่าผิดปกติ
• PROM
Prolong deceleration phase ระยะที่ 2 ของการคลอด
ครรภ์แรกนาน เกินกว่า 2 ชม.
ครรภ์หลังนาน เกินกว่า 1 ชม.
Arrest of descent
นานเกิน 2 ชม. ในครรภ์แรก
ส่วนนำไม่เคลื่อน ต่ำลงมาอีกเลย
นานเกิน 1 ชม. ในครรภ์หลัง
การคลอดนาน : prolong labor
•Prolonged latent phase
Nullipara 20 hrs. Multipara 14 hrs
•Protracted active-phase dilatation
Nullipara 1.2 cm/hr.Multipara 1.5 cm/hrs
•Prolonged deceleration phase
Nullipara 3 hrs. Multipara 2 hrs.
•Secondary arrest of dilatation
Arrest 2 hrs
•Arrest of descent
Arrest 1 hr.
•Failure of descent
No descent in deceleration phase
การรักษา
• การแก้ไขที่สาเหตุ เช่น
• เสริมการหดรัดตัวของ มดลูก
• การให้พักผ่อนอย่าง เพียงพอ
• การสนับสนุนทางจิตใจ
• การใช้สูติศาสตร์หัตถการใน การช่วยคลอด
• V/E
• F/E
• C/S
การคลอดผิดปกติ
1.Power แรงผลักดัน
1.Maternal force แรงเบ่งมารดา
Maternal exhaustion : ให้สารน้ำทางเส้นเลือด Maternal nervousness : ให้คา แนะนำ/ ปลอบโยน Analgesics/sedative drug : ให้ยาในขนาด /เวลาเหมาะสม
Poor maternal force : สอนการเบ่งถูกวิธี
สาเหตุที่ทำให้เกิดความผิดปกติของแรง
ไม่ทราบ 50 %
ท่าและส่วนนำผิดปกติ
การผิดสัดส่วนกันระหว่างทารก และกระดูกเชิง กราน : แฝด , แฝดน้ำ , เชิงกรานแคบ
อื่น ๆ
• จิตใจ
• ได้รับยาแก้ปวด / ยาชา
• Bladder full
2.Uterine contraction แรงหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวน้อย ความดันในโพรงมดลูกน้อยกว่า 25 mm.Hg.
สาเหตุ :
Cephalopelvic disproportion, Malpresentation, Malposition Overdistended uterus ; multiple pregnancy, polyhydramnios Over dose of Analgesic ,drug, full bladder
มดลูกหดรัดตัวรุนแรง แต่ไม่สัมพันธ์กัน ความดันในโพรงมดลูกมากกว่า 50 mm.Hg.
สาเหตุ : ไม่ทราบแน่ชัด
In-coordinate uterine contraction
• ลักษณะ
หดรัดตัวแรงบริเวณตอนกลาง / ล่างมากกว่า ยอดมดลูก
ลักษณะการหดรัดตัว ไม่มีการแผ่กระจายจาก ยอดมดลูก
In-coordinate uterine contraction
ระยะพัก มดลูกคลายตัวไม่เต็มที่ * การหดรัดตัวไม่สม่ำเสมอ
Tetanic contraction
• ลักษณะ •
มดลูกหดรัดตัวแรงมากกว่าปกติผู้คลอดมี อาการ เจ็บปวดมาก •
มดลูกหดรัดตัวนาน > 90 ’’ • * มดลูกหดรัดตัวถี่มากกว่าปกติ
Constriction ring
มีวงแหวนเกิดบนรอยคอดของทารกเหนือ Cx 7 - 8 ซม.
ตรวจไม่พบรอยคอดที่เป็นวงแหวนทางหน้าท้อง ตรวจโดยการสอดมือเข้าไปในช่องคลอด
มดลูกหดรัดตัวแรง ไม่สม่ำเสมอ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก
Bandl’s
ภาวะผิดปกติ ลักษณะเป็นวงแหวนคล้าย braun’s แต่ ระดับสูงของวงแหวนจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ พบวงแหวนใกล้สะดือหรือสูงกว่า สามารถคลำรอยคอดได้
Constriction
ภาวะผิดปกติ เกิดเมื่อ Cx.7 - 8 ซม. ตำแหน่งไม่เปลี่ยน อาจไม่พบทางหน้าท้อง ไม่ทำให้มดลูกแตก ทารกเคลื่อนต่ำไม่ได้
2.Passenger
Malpresentation
Malposition
Anomalies of fetus Oversize baby Hydrocephalus Conjoined twins
Sholder dystocia
3.Passage
Soft part : มดลูก ปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ กล้ามเนื้อ Bony part : กระดูกช่องเชิงกราน
sacral promontery
pubic remi
pubic symphysis
pubic angle
ischial spine
ischial tubercle
4.Psychological
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน สภาพของจิตใจ
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35