Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤติ, นางสาว ประภัสสร จุ่มแก้ว…
บทบาทพยาบาลในการเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤติ
พยาบาลในทีม mcatt
ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน
ระยะฉุกเฉิน 72ชม.-2 สัปดาห์
ลักษณะเฉพาะ
มองโลกในแง่ดี
มีการช่วยเหลือเข้ามาเกิดกำลังใจ
ทราบสถานการณ์และความต้องการของผู้ประสบบภัย
ประเมินคัดกรองวางแผนการช่วยเหลือจัดลำดับการช่วยเหลือ
กลุ่มเป้าหมายการช่วยเหลือ
กลุ่มผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน
กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาทางจิตเวชหรือใช้สารเสพติด
กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบหลังประสบภาวะวิกฤต
กลุ่มผู้สูงอายุและเด็ก
กลุ่มผู้พิการและเจ็บป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต
ขั้นตอนการดูแลช่วยเหลือ
เข้าพื้นที่ให้การช่วยเหลือในพื้นที่เสี่ยงร่วมกับทีมทางกาย
คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต (ผู้ใหญ่และเด็ก)
ให้การปฐมพยาบาลด้านจิตใจแบบ (PFA)
ให้จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและวางแผนการติดตามต่อเนื่องในกรณีพบกลุ่มเสี่ยง
สรุปรายงานสถานการณ์เบื้องต้นพร้อมทะเบียนกลุ่มเสี่ยง
ระยะวิกฤต 72 ชม. แรก
อาการ/การช่วยเหลือ
ตื่นตัว
มีพลังมาก
เกิดความเครียด
หวาดกลัว ช็อค สับสน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ไม่เป้นระเบียบ
ช่วยเหลือเฉพาะหน้า
เน้นการช่วยเหลือตามสภาพความเป็นจริง
การแสดงออกทางด้านจิตใจNormal Reaction at Abnormal Situation
ให้การปฐมพยาบาล PFA
ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์- 3 เดือน)
ระยะเตรียมการ
เตรียมทั้งตัวบุคคลและองค์รับนโยบายจัดโครงการช่วยเหลือสุขภาพจิต
จัดเตรียมทีมเพื่อปฏิบัติงาน
ฝึกอบรมการช่วยเหลือการใช้แบบประเมินแบบคัดกรอง ความรู้วัฒนธรรม
เตรียมความพร้อมชุมชน
ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป)
การปฐมพยาบาลด้านจิตใจ
(Psychological first Aid: PFA)
หลักการ EASE
การสร้างสัมพันธภาพและการเข้าถึงจิตใจ
(Engagement: E)
สังเกต Nonverbal/Verbal
การสื่อสาร
พูดคุยเบื้องต้นเมื่อผู้ประสบเหตุการณ์วิกฤตพร้อม
การสร้างสัมพันธภาพ
ควรมีท่าทีสงบนิ่ง
แนะนำตัวเอง
การแสดงออกของผู้ให้การช่วยเหลือควรเหมาะสมกับเหตุการณ์
วิธีการให้สุขภาพจิตศึกษาและข้อมูลที่จำเป็น (Education)
ต.1 ตรวจสอบความต้องการ
ต.2 เติมเต็มความรู้
ต.3 ติดตามต่อเนื่อง
การประเมินผู้ได้รับผลกระทบ(Assessment: A)
การประเมินสภาพจิตใจ
ภาวะช็อกและปฏิเสธ
ใจ
ให้ระบายความรู้สึกใช้เทคนิคสัมผัส กำหนดลมหายใจ
สังคม
ตัวอย่างเช่น การโทรศัพท์ติดต่อญาติ
กาย
จัดให้อยู่ในที่สงบปลอดภัย
ภาวะโกรธ
ให้อยู่ในสถานที่ปลอดภัย จัดระยะห่าง
ใช้ Active Listening Skill และพูดสะท้อนอารมณ์ถามความต้องการ
ภาวะเสียใจ
Breathing Exerciseหรือใช้การสัมผัส (Touching)ในรายที่หายใจไม่ออก หาที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
ภาวะต่อรอง
อดทน รับฟัง สนองความต้องการ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ประเมินอารมณ์ได้
ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย
ตัวชีวัดเมื่อได้รับการตอบสนอง
สงบรับฟังมากขึ้น ต่อรองลดลง
อาจเข้าสู่ภาวะซึมเศร้าได้
ประเมินความต้องการทางสังคม
ต้องการพบญาติติดต่อทางโทรศัพท์
ไร้ญาติประสานหน่วยงานให้การช่วยเหลือ
ต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น กระทรวงพัฒนามุนษย์และความมั่นคง
ประเมินและตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกาย
ได้รับบาดเจ็บทางด้านร่างกาย
มีอาการอ่อนเพลีย ควรจัดหาน้ำและอาหารให้
จัดหายาดมแอมโมเนีย ผ้าเย็นเช็ดหน้าและแขน
เคลื่อนย้าย ผู้ประสบภาวะวิกฤตไปอยู่ในที่ปลอดภัย
การเรียกขวัญคืนสติลดความเจ็บปวดทางใจเสริมสร้างทักษะ (Skills: S)
Breathing exercise
Touching skill
Grounding
การนวดสัมผัส
ลดความเจ็บปวดทางใจ ด้วยการรับฟัง สะท้อนความรู้สึก
Coping skills การพูดคุย ทำกิจวัตรประจำวัน
** ควรหลีกเลี่ยงการดื่มสรุา สูบบุหรี่ ใช้สารเสพติด กินอาหารมากหรือน้อยเกิน
นางสาว ประภัสสร จุ่มแก้ว รหัส 6001210149 sec A เลขที่6