Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์, Meconium…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
:check: :!!:
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
-หลอดเลือดหดรัดตัว (vasoconstriction)
-ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
-ขาตออกซิเจนอย่างเรื้อรังมารดาแท้งหรือทารกตาย
-ทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการติดบุหรี่ (fetal tobacco syndrome) fetal tobacco syndrome
-ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
-น้ำหนักตัวต่ำกว่าปกติ 150-300 กรัม
-เกิดก่อนกำหนด
-เกิดภาวะหายใจลำบาก (respiratory distress)
-ทารกมีปากแหว่งเพดานโหว่
-ไส้เลื่อน (inguinal hernia)
-ตาเหล่ (strabismus)
-ระดับ IQ (intelligence quota) ต่ำ
-ทารกโตขึ้นจะมีบุคลิกไม่อยู่นิ่ง (hyperactive)
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดา ดื่มแอลกอฮอล์ในระยะตั้งครรภ์
-ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS อย่างรุนแรง
-มีการเจริญเติบโตข้าในครรภ์
-มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดีระดับสติปัญญา (IQ) ต่ำ
-มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้าอย่างชัดเจนศีรษะเล็ก
-เป็นโรคหัวใจ แต่กำเนิด
-ลักษณะผิดปกติภายนอกแนวทางการรักษา
-ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
-ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้น
-ให้ยาระงับหรือป้องกันการชักคือ Phenobarbital หรือ diazepam
ผลจากการเสพเฮโรอีนในระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
-ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ (hypoxia)
-ทารกเกิดก่อนกำหนดเนื่องจากมีการติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
-ความพิการ แต่กำเนิดอาจเกิดจากการติดเชื้อ
-ภาวะตับอักเสบ
-ซิฟิลิส แต่กำเนิด
-การเจริญเติบโตล่าช้าเกิดภาวะเ UGR, SGA
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
:explode:
-ภายใน 24-48 ชั่วโมง
-มีอาการทางระบบประสาท
-มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
-กระสับกระส่ายพักผ่อนไม่ได้นอนหลับยาก
-แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว
แนวทางการรักษา
-ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan เป็นผู้คิดขึ้นประเมินความรุนแรงของภาวะถอนยา
-ให้คะแนนจากลักษณะอาการและอาการแสดงของทารกตั้งแต่แรกเกิด
-โดยประเมินทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมงอาการดีขึ้นประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงและ 4 ชั่วโมงตามลำดับประเมินได้ 7 คะแนนหรือต่ำกว่าห้ามให้ยากล่อมประสาท
-ประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้การรักษาโดยให้ยาร่วมกับการรักษาทั่วๆไป
Meconium aspiration syndrome
ทารกที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะนี้
-ทารกคลอดที่ครรภ์เกิน
-กำหนดน้ำหนักแรกคลอดต่ำ
-การคลอดนานทางช่องคลอด
-มารดามีความดันเลือดสูง
-ขณะตั้งครรภ์ภาวะครรภ์เป็นพิษและมารดามีน้ำหนักมากเกินกว่าปกติขณะตั้งครรภ์
:check:
-การสำลักเอาขี้เทาที่อยู่ในน้ำคร่ำเข้าปอดในทารกแรกเกิดมีการเคลื่อนไหวของทรวงอกตื้น ๆ และไม่สม่ำเสมอตั้งแต่อายุประมาณ 24 สัปดาห์
-มีความถี่ประมาณ 30-90 ครั้งต่อนาทีเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 34 สัปดาห์
-การเคลื่อนไหวของทรวงอกจะสม่ำเสมอมากขึ้นอัตราการเคลื่อนไหวจะมีค่าประมาณ 40-60 ครั้งต่อนาที
-การเคลื่อนไหวนี้ไม่ใช่การหายใจการเคลื่อนไหวนี้จะทำให้ใน ng fluid ของทารกมี
-การเคลื่อนที่ใน tracheobronchial tree
-ทำให้ (ung fluid เคลื่อนจากถุงลมทารกสู่น้ำคร่ำได้
-ในภาวะปกติจะไม่มีน้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด
-การขาดออกซิเจนของทารกในครรภ์เนื่องจากความผิดปกติของรกในการแลกเปลี่ยนก๊าซจะกระตุ้นให้ทารกในครรภ์มีการหายใจ (grasping respiration)
-ทำให้น้ำคร่ำเคลื่อนที่เข้าสู่ปอดทารกได้
อาการแสดง
-ทารกที่เป็น MAS มักเป็นทารกที่คลอดครบกำหนดหรือเกินกำหนด
-มีประวัติ fetal distress
-Apgar score ต่ำ
-มีขี้เทาในน้ำคร่ำ (thick mecomium stained amniotic fluid)
การรักษา
-เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะและเครื่องมือในการใส่ท่อช่วยหายใจและอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจนให้พร้อม
-มีความเสี่ยงต่อการสำลักขี้เทาให้ใช้ลูกยางแดงดูดทางปากและจมูกเมื่อศีรษะทารกพันจากช่องคลอด
-ในรายที่มีขี้เทาที่เหนียวและปริมาณมากจะใส่ท่อช่วยหายใจและดูดขี้เทาออกทางท่อช่วยหายใจ หลังจากดูดออกหมดแล้วหากทารกไม่หายใจควรให้แรงดันบวกผ่านทางท่อช่วยหายใจ
-หลังจากนั้นจะดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหารโดยการดูดจากสายยางให้อาหารผ่านทางจมูกหรือปาก