Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์ - Coggle Diagram
ทารกนํ้าหนักตัวผิดปกติ
ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
ทารกขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ (Small for
Gestational Age (SGA, IUGR) Neonate)
ทารกที่นํ้าหนักน้อยกว่า 10 เปอร์เซ็นไทล์เมื่อ
เปรียบเทียบกับอายุครรภ์
นํ้าหนักน้อยกว่าอายุครภ์ (SGA)
ปัจจัย
พันธุกรรม
เพศ
ที่อยู่อาศัยบนที่สูง
ความผิดปกติของโครโมโซม เช่น trisomiesและ dwarf syndrome
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
สาเหตุ
มารดาติดสารเสพติด
สุรา
สูบบุหรี่
มีภาวะซีดเรื้อรัง •
โรคหัวใจ
โรคไต
ตั้งครรภ์แฝด
ความผิดปกติทางโครโมโซม
ติดเชื้อแต่กําเนิด เชน TORCH ซิฟิลิส
ภาวะแทรกซ้อน
พลังงานสะสมในร่างกายทารกลดลง
นํ้าครํ่าน้อย
ทารกขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักน้อยมาก ๆ
(extremely low birth weight : ELBW)
องค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ
องค์ประกอบด้านทารก เช่น ทารกแฝด
พิการหรือติดเชื้อแต่กําเนิด
องค์ประกอบด้านมารดา สาเหตุจาก ความ
ผิดปกติหรือ ความเจ็บป่วยของมารดาขณะตั้งครรภ์ เช่น มารดาเป็นโรค ความดันโลหิตสูง
องค์ประกอบด้านรก เช่น รกเกาะตํ่า รกลอก
ตัวก่อนกําหนด
อุบัติการณ์
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั้งแต่
แผนฯ 7 จนถึงแผนฯ 10 (2535 –2554)
ลดอัตราทารกแรกเกิดนํ้าหนักน้อย โดยให้มี
อัตราทารก แรกเกิดนํ้าหนักน้อยไม่เกินร้อยละ 7
ทารกแรกเกิดที่มีนํ้าหนักตัวตํ่ากว่า 1,000 กรัม
ทารกโตช้าในครรภ์ (intrauterine
growth restriction, IUGR)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกมีอัตราการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ
ระหว่างอยู่ในครรภ์มารดา
เกณฑ์การวินิจฉัยที่ใช้กันมากที่สุด คือ “ทารกที่
มีนํ้าหนักน้อยกว่า 10thpercentile ของนํ้าหนักทารกที่อายุครรภ์นั้น ๆ”
สาเหตุของ IUGR
สาเหตุจากตัวทารกเอง (fetal causes)
การติดเชื้อในครรภ์
ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy
18, trisomy 13
สาเหตุจากมารดา (maternal causes)
ภาวะขาดอาหาร อาจเกิดจากมารดามีโรคเรื้อรัง
นํ้าหนักมารดาขึ้นน้อย
ภาวะโลหิตจาง
สาเหตุจากรก (placental causes)
และสายสะดือ
รกเสื่อมสภาพ (placental infarction)
รกลอกตัวก่อนกําหนด (placental abruption)
chorioangioma(เนื้องอกรก)
รกเกาะตํ่า
ภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อมารดาและทารก
ผลต่อทารก
นํ้าตาลในเลือดตํ่า (hypoglycemia)
แคลเซียมในเลือดตํ่า (hypocalcemia)
ความเข้มข้นของเลือดสูง (polycythemia)
Hyperbilirubinemia
ผลต่อมารดา
เพิ่มอัตราC/S เนื่องจากพบทารกมีภาวะเครียดได้สูง
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดูสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้น
ส่งผลกระทบกระเทือนทางด้านจิตใจสูง
ทารกขนาดโตกว่าอายุครรภ์ (Large for
Gestational Age (LGA ,IDM)Neonate)
ทารกที่มีนํ้าหนักเปรียบเทียบกับอายุครรภ์ มากกว่า
หรือเท่ากับ 90 เปอร์เซ็นไทล์
ปัจจัย
กรรมพันธุ์ (มารดานํ้าหนักมาก)
เพศ (เพศชายมักมีขนาดตัวใหญ่มากกว่าเพศหญิง)
ปัจจัยทางดานพยาธิสรีรวิทยา เช่น hydrops fetalis
การมีหลอดเลือดใหญ่อยู่ผิดที่ BeckwithWiedemann syndrome
ภาวะแทรกซ้อนของ IDM
CPD ส่งผลให้ทารกบาดเจ็บจากการคลอด ได้แก่
คลอดยาก ติดไหล่ ก้อนบวมเลือดที่ศีรษะ กระดูกหัก Erb’spalsy ใบหน้าอัมพาต
ใช้ออกซิโตซิน ช่วยคลอดด้วยคีม หรือผ่าตัดคลอด
ทารกทางหน้าท้อง
มีภาวะหายใจลําบาก ระบบหายใจมีการพัฒนาล่าช้า
เกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า แคลเซี่ยมตํ่า
ภาวะเลือดข้น ตัวเหลือง
หัวใจโต หัวใจพิการแต่กําเนิดและ caudal
regression syndrome
การรักษา
ป้องกันโดยควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือดตลอดการ
ตั้งครรภ์
คาดคะเนขนาดของทารกกับเชิงกรานของมารดา
อาจวางแผนC/S
ประเมินนํ้าตาลในเลือดบ่อย ๆ ในระยะหลังคลอด
ให้สารนํ้าที่มีกลูโคส 10-15% IV จนกว่าอาการของ
ทารกจะคงที่
ประเมินการบาดเจ็บของทารกเพิ่มเติมจากการเอกเรย์ หรือ ซีที สแกน (CT-scan)
ทารกครรภ์เกินกําหนด
(PosttermInfant)
ทารกที่คลอดหลังจากอายุครรภ์ 42 สัปดาห์
ปัจจัยที่อาจส่งผลให้คลอดเกินกําหนด
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป
มีประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า
มารดาอาจจําประจําเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน
ประจําเดือนมาไม่สมํ่าเสมอ
ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดเกินกําหนด
นํ้าครํ่าน้อย
รกเสื่อม
ทารกอาจได้รับสารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ
สายสะดือถูกกด
มีการถ่ายขี้เทาลักษณะเหนียวเนื่องจากมีนํ้าครํ่าน้อย
ทารกคลอดเกินกําหนดจะมีลักษณะ
ตื่นตัว
ตาเปิดกว้าง
ลําตัวผอมยาว
ไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ผิวหนังมีขี้เทา
แห้ง
ลอก
ไม่มีไขหรือขนอ่อน
เล็บยาว
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะทารกสูดสําลักขี้เทา
ขาดออกซิเจนในระหว่างการคลอด
ภาวะตัวเย็น
ภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า
ภาวะเลือดข้น
ภาวะตัวเหลือง
ภาวะชัก