Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
สาระสำคัญระบบทางเดินหายใจ
ความหมาย
ขบวนการแลกเปลี่ยน gas เกิดที่ถุงลม จึงต้องส่งออกซิเจนไปให้ได้เพียงพอ
แบ่งได้ 2 ชนิด
ทางเดินหายใจส่วนบน ( upper respiratory)
ทางเดินหายใจส่วนล่าง (lower respiratory)
ทางเดินหายใจส่วนบน
ทางเดิน
อัตราการหายใจของเด็กในแต่ละวัย
ต่ำกว่า 2 เดือน ไม่เกิน 60 ครั้ง/นาที
2-12 เดือน ไม่เกิน 50 ครั้ง/นาที
1-5 ปี ไม่เกิน 40 ครั้ง/นาที
ลักษณะการหายใจ
2)หายใจเข้ายุบลง(retraction)
มีการยุบลงของกระดูกหน้าอกระหว่างซี่โครง
1)การหายใจปีกจมูกบาน(nasal flaring)
เป็นลักษณะหายใจลำบาก หายใจเข้าปีกจมูกจะบาน เพื่อให้อากาศเข้าเพียงพอ
เสียงหายใจที่ผิดปกติ
crepitation sound เสียงแตกกระจายเป็นช่วงๆ พบในปอดอักเสบ
rhonchi sound เสียงเกิดการไหลวนของอากาศ เข้าไปที่ตีบมากกว่าปกติ เกิดเสมหะอุดตัน หลอดลมบีบเกร็ง
stridor sound มีการตีบแคบกล่องเสียงหรือหลอดลม ได้ยินตอนหายใจเข้า-หายใจออก
wheezing เสียงชัดตอนหายใจออก พบในผู้ป่วยหอบหืด
เกิดจากลมที่เข้าไปในท่อทางเดินหายใจมีความผิดปกติ จึงมีเสียงดังนี้
เสมหะ
กลไกการสร้างเสมหะ
2)mucus gland เพิ่มขึ้น ทำให้เสมหะเพิ่ม
3)มีการทำลายเยื่อบุหลอดลม ทำให้ Cilia ลดลง
1)ต่อมสร้างสารคัดหลั่ง mucus gland
ลักษณะเสมหะ
เสมหะเหนียว
มีความหนืดมากรวมเป๋นก้อนทำให้ผู้ป่วยขับออกมาได้ยาก ต้องประเมินว่าผู้ป่วยได้รับสารน้ำพอมั้ย
เสมหะไม่เหนียว
หนืดน้อยเป็นเมือกเหลว ไม่รวมเป็นก้อน ขับออกมาง่าย
ทำไมต้องเพิ่มน้ำผู้ที่มีเสมหะ
Cilia พัดโบกดีขึ้น
และยังช่วยประเมินภาวะขาดน้ำในผู้ป่วยได้
ช่วยให้ระบบทางเดินหายใจชุ่มชื้น ขับออกง่าย
โรคระบบทางเดินหายใจและการพยาบาล
ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)
ระยะ
Acute sinusitisระยะของโรคไม่เกิน 12 week
Chronic sinusitis ต่อเนื่องเกิน 12 week
การดูแลรักษา
ให้ยา antibiotic
ให้ยาแก้แพ้ในรายไซนัสอักเสบเรื้อรัง
ให้ยาSteroid ลดการบวมระคายเคือง
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
ติดเชื้อเยื่อบุโพรงอากาศ
การล้างจมูก
ล้างจมูกช่วยป้องกันการลุกลามของเชื้อเข้าปอด
ควรล้างจมูกก่อนใช้ยาพ่นจมูก
ใช้น้ำเกลือล้างจมูกวันละ 2-3 ครั้ง
หลอดลมอักเสบ(Bronchitis)
กลไกการเกิด
1.ติดเชื้อไวรัส เกิดการทำลายเนื้อเยื่อ
2.เกิดการอุดกั้นหลอดลมฝอยเกิด Atelectasis
อาการ
คล้ายไข้หวัด
ปีกจมูกบาน
ดูดนม/น้ำได้น้อยหรือไม่ได้เลย
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง เกิดการอักเสบ+อุดกั้น เชื้อที่พบบ่อยคือ Respiratory syncytial virus
การรักษา
ใช้ยาปฎิชีวนะ ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ได้น้ำ ออกซิเจนที่เพียงพอ
ดูแลหใ้ได้รับอาหารที่มีภูมิต้านทาน
Tonsilitis/Pharyngitis
อาการ
ไข้ ปวดหัว เจ็บคอ ไอ เจ็บคอ
มีตุ่มใสคอหอย เพดานปาก
การรักษา/การพยาบาล
กินยาAntibiotic ให้ครบ 10 วัน
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
หลังผ่าตัดควรให้เด็กนอนตะแคงไปดา้านใดด้านหนึ่ง สะดวกต่อการระบายเสมหะ
สังเกตการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
เมื่อรู้สึกตัวดีจัดให้อยู่ท่านั่ง 1-2 ชั่วโมง อมน้ำแข็งก้อนเล็กๆ รับประทานอาหารเหลว
1-2 วันแรกนอนศีรษะสูงเพื่อลดการบวม
เลี่ยงการแปรงฟันเข้าไปลึก
ประคบสลับการอมน้ำแข็ง
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส Beta hemolytic streptococcus gr.A
ปอดบวม Pneumonia
อาการ
ไข้/ไอ
ดูดน้ำ/ดูดนมน้อย
ซึม
เกณฑ์การตัดสินปอดบวม
เด็กแรกเกิดหายใจมากกว่า 60 ครั้ง/นาที
เด็ก 2 เดือน-1ปี หายใจมากกว่า 50 ครั้ง/นาที
เด็ก 1-5 ปี หายใจมากกว่า 40 ครั้ง/นาที
สาเหตุ
เกิดจากสำลักสิ่งแปลกปลอม/ติดเชื้อ
กาารักษา
clear airway suction
ให้ยาขยายหลอดลม/ขับเสมหะ/ยาฆ่าเชื้อ
ให้รับน้ำเพียงพอ ให้เสมหะอ่อนตัว
การระบายเสมหะ
เคาะ (Percussion)
การสั่นสะเทือน (Vibration)
จัดท่าผู้ป่วย
นอนคว่ำ
นอนตะแคงขวา/ซ้าย
นอนหงาย
นอนหัวสูง
สอนไอมีประสิทธืภาพ (Effective cough)
Croup
สาเหตุ
1.ฝาปิดกล่องเสียงอักเสบ
2.กล่อเงสียงอักเสบ
3.หลอดลมใหญ่ หลอดลมฝอยในปอดอักเสบ
อาากร
หายใจมีเสียง stridor
ไอมีเสียงก้อง
ไม่ตอบสนองการพ่นยา
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก
คือ กลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบน บริเวณกล่องเสียงและที่อยู่ใต้ลงมา
หอบหืด Asthma
เกิดพยาธิสภาพ 3 อย่าง
ทำให้หลอดลมหดเกร็งตัว(Brochospasm)
หลอดลมตีบแคบ(Stenosis) บวม
สร้างเมือกมาก (Hypersecretion)
อาการ
คล้ายหวัด มีเสียง wheezing
หอบมาก ปากเขียว ใจสั่น
คือ ภาวะหลอดลมอักเสบเรื้อรัง มีความไวต่อสิ่งกระตุ้น
ความรุนแรง
ปานกลาง
ตื่นกลางคืนบ่อย
รุนแรง
กระสับกระส่าย ริมฝีปากเขียว
เล็กน้อย
ไอ มีเสียงวี๊ด แต่ยังเล่นซนได้ปกติ
การรักษา
ยาขยายหลอดลมชนิดทาน
ยาขยายหลอดลมชนิดพ่น (จะได้ผลเร็วทำให้ทางเดินหายใจโล่ง)
ยาลดการบวมหลอดลม
หลีกเลี่ยง
อากาศเย็น
การออกกำลังกายที่หนัก
ควันบุหรี่ ไรฝุ่น
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1 เลขที่ 50 รหัสนักศึกษา 612001051