Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจําแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage), นาย…
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจําแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage)
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหายใจ
ลักษณะและอาการแสดงของการได้รับบาดเจ็บบริเวณทรวงอก
ภาวะอกรวน (Flail Chest)
Penetrating Chest Wounds
Tension Pneumothorax
Massive Hemothorax
Cardiac temponade
กระดูกซี่โครงหัก (Fractures of the Ribs)
ภาวะฉุกเฉินรุนแรงที่เกิดจากการบาดเจ็บทรวงอก
Hypercapnia
Metabolic acidosis
Tissue hypoxia
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บทรวงอก
การทํา Primary survey เพื่อค้นหา Life threatening injury และทําการพยาบาลเบื้องต้นอย่างเร็วที่สุด
B. Breathing โดยการประเมินจากการ ดู คลํา เคาะ ฟัง เพื่อหาความผิดปกติของการหายใจรวมถึงการโป่งพองของเส้นเลือดดําที่คอ
C. Circulation โดยคลําชีพจร ประเมินอัตรา ความแรง จังหวะความสม่ําเสมอ
A. Airway เริ่มจากการฟังเสียงหายใจและค้นหาสิ่งแปลกปลอมที่ทําให้เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทรวงอก
เนื่องจาก hypoxia เป็นอาการแสดงความรุนแรงที่สุดของการได้รับบาดเจ็บทรวงอก ดังนั้นต้องมี early interventions ไว้ป้องกันแก้ไขภาวะ hypoxia
Immediately life-threatening injuries ต้องได้รับการรักษาอย่างทันทีทันใด และด้วยวิธีง่ายๆ เท่าที่จําเป็น
กรณีตรวจพบ Flail chest ให้หาวิธีไม่ให้บริเวณที่หักเกิดการเคลื่อนไหว อาจใช้หมอนรองบริเวณที่หัก ใช้ผ้าพันรอบทรวงอกเช่นเดียวกับ Fractured Ribs หรือแม้แต่มือเปล่า ในกรณีที่มีการบาดเจ็บรุนแรงอาจต้องให้การช่วยเหลือในการหายใจ โดยใช้mouth-to-mask หรือ bag-valve-mask resuscitation devices และ ให้ออกซิเจน หรือช่วยฟื้นคืนชีพแล้วนําผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็วที่สุด
กรณีตรวจพบ Penetrating Chest Wounds ให้รีบ
ปิดแผลอย่างเร็วที่สุดป้องกันไม่ให้มีอากาศเข้าไปในchest cavityมากขึ้น
วัสดุที่ใช้ปิดแผลเช่น Vaseline gauze, plastic wrap เป็นต้น ในการปิด
แผลอาจทําให้ผู้ป่วยหายใจได้ยากมากขึ้น หากพบกรณีดังกล่าวให้เปิดรู
มุมด้านหนึ่งของวัสดุที่ปิดแผล หลังจากนั้นให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
กรณีตรวจพบกระดูกซี่โครงหักแบบธรรมดา
ไม่พบการทิ่มแทงอวัยวะภายใน ให้ใช้ผ้าพับให้มีความกว้าง
ประมาณ 2 นิ้วพันบริเวณทรวงอกจนถึงส่วนล่างสุดของซี่โครง
ให้แน่นทับบริเวณที่สงสัยกระดูกซี่โครงหัก แล้วอ้อมรอบลําตัว
ไปผูกปมบริเวณที่ไม่หัก ก่อนผูกปมให้ผู้บาดเจ็บหายใจออกให้
เต็มที่ก่อน
ทําการสํารวจขั้นต้น
ทางเดินหายใจ และการหายใจ ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก ให้ออกซิเจน กรณีหายใจเองไม่ได้ให้ใส่ท่อช่วยหายใจ
ดูแลการไหลเวียน ถ้าผู้ป่วยอยู่ในภาวะ Shock ควรให้สารน้ําทางหลอดเลือดดํา หรือให้เลือดในรายที่เสียเลือดมาก
วัดสัญญาณชีพ เพื่อดูอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบประสาท
Spinal cord injury
การจําแนกความรุนแรง
Cord contusion ไขสันหลังเกิดการชอกช้ํา กด เบียด ด้วยกระดุกสันหลังที่แตกหัก
Ischemia condition ไขสันหลังขาดเลือดจากการกดเบียด หลอดเลือดที่มาเลี้ยงไขสันหลัง
Cord concussion ไขสันหลังได้รับการกระทบกระเทือนและหยุดการทํางานชั่วคราว น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
Cord transection ไขสันหลังฉีกขาดทุกชั้น Dura, Arachnoid, Pia ซึ่งเป็นการบาดเจ็บที่รุนแรงที่สุด
Spinal shock
Spinal shock เป็นอาการที่เกิดเมื่อได้รับการบาดเจ็บที่ไขสันหลังใหม่ๆ ไขสันหลังบริเวณรอยโรค
และส่วนที่ต่ํากว่ารอยโรคมักจะหยุดทํางานชั่วคราว ในช่วงนี้จําไม่พบการทํางานใดๆเลย แม้ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อ
ตัวกระตุ้นแบบอัตโนมัติ ทั้งที่การบาดเจ็บไม่รุนแรงมากนัก การประเมินต้องรอไประยะหนึ่งส่วนมากจะหาย
ภายในระยะเวลาเป็นวันหรือไม่กี่สัปดาห์ จากปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่ง anal reflex, deep
tendon reflex, bulbocarvenosus หรือกล้ามเนื้อเกร็งกระตุก
Complete cord injury
Complete cord injury เดิมหมายถึงภาวะที่ไม่มีการทํางานของประสาทสั่งงานหรือประสาทรับ
ความรู้สึกของไขสันหลังส่วนที่ต่ํากว่ารอยโรค ปัจจุบันใช้ Sacral sparing definition เป็นตัว บ่งชี้ว่า
Complete cord injury หมายถึงการไม่มีการทํางานของประสาทสั่งงานหรือประสาทรับความรู้สึกบริเวณ
ทวารหนักและรอบทวารหนักเลยส่วน incomplete cord injury หมายถึง การหลงเหลือการทํางานของ
ประสาทสั่งงานหรือประสาทรับความรู้สึกบริเวณทวารหนักและรอบทวารหนัก
การพยาบาลป่วยที่บาดเจ็บกระดูกสันหลัง
การประเมินสภาพของผู้ป่วย
การซักประวัติ ให้ทราบสาเหตุการบาดเจ็บเพื่อคาดเดากลไกการบาดเจ็บที่เชื่อมโยงถึง
ความรุนแรงของพยาธิสภาพ
การตรวจร่างกายทั่วไป
การตรวจหาการบาดเจ็บส่วนอื่นๆ
การประเมินสภาพจิตใจ
การประเมินการหายใจ
ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 1/2-1 ชั่วโมง
การพลิกตัวและการเคลื่อนย้าย
การให้ยา ดูแลการให้ยาตามแผนการรักษา
ในรายที่ท้องอืดดูแลให้งดน้ําและอาหาร ทางปาก แล้วใส่สายยางระบายน้ําและสารเหลวออก
จากกระเพาะอาหารที่ติต่อเครื่องดูดอย่างมีประสิทธิภาพ วัดรอบท้องเพื่อประเมินความก้าวหน้าของปัญหา
ใส่สายสวนคาปัสสาวะไว้ ให้ระบายน้ําปัสสาวะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ติดตามเฝ้าระวังการตกเลือด ความรู้สติ สัญญาณชีพ การเต้นของหัวใจ และความอิ่มตัวของ
ออกซิเจนในเลือด
เตรียมส่งผู้ป่วยตรวจรังสี ซึ่งต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง
เตรียมผ่าตัดตามแผนการรักษาตามข้อบ่งชี้ ดังนี้
มีแรงกดไขสันหลังจากภายนอก
ความพร่องของระบบประสาทเพิ่มมากขึ้น
กระดูกสันหลังหักแบบเปิด
มีเศษกระดูกหลุดออกและทิ่มแทงเข้าไปในโพรงสันหลัง
มีแผลทะลุเข้าสู่โพรงสันหลังและมีการทําลายไขสันหลัง มีการตกเลือด และมีการทําลายเนื้อเยื่อโดยรอบ
Acute stroke
โรคหลอดเลือดสมองแบ่งออกได้เป็นชนิดต่างๆ
โรคหลอดเลือดสมองชนิดสมองขาดเลือด (Ischemic Stroke)
โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง (Hemorrhagic Stroke)
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
อายุ
เพศ
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้ ส่วนใหญ่เป็นปัจจัยที่เกิดจากรูปแบบการดําเนินชีวิต โดยมากสามารถ
ปรับเปลี่ยนได้ไม่ว่าจะด้วยการปรับเปลี่ยนทางพฤติกรรม หรือการใช้ยา
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูด
มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
อาการชา หรือสูญเสียความรู้สึกของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง
การสูญเสียการมองเห็นบางส่วน หรือเห็นภาพซ้อน
อาการอ่อนแรง หรือมีอาการอัมพฤกษ์ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
อาการบ่งชี้หลอดเลือดสมอง
การมองเห็นลดลง 1 หรือทั้ง 2 ข้าง
มีปัญหาด้านการเดิน มึนงง สูญเสียการสมดุลการเดิน หรือใช้ตัวย่อช่วยจํา
สับสน พูดลําบาก พูดไม่รู้เรื่อง มีปัญหาการพูด
การอ่อนแรงของหน้า แขน หรือขาซีกเดียว
แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเส้นเลือดสมอง
Laboratory
Stroke Unit
ER Nurse
Resident / Stroke Attending
ER Triage Nurse
คัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการตาม Cincinnati Stroke Screening และเริ่ม stroke fast track เมื่อ
onset of symptoms < 4.5 ชั่วโมง
แนวทางการพยาบาลเบื้องต้นเมื่อผู้ป่วยมาถึงห้องฉุกเฉิน
ซักประวัติอาการสําคัญที่มาโรงพยาบาล มีอาการสําคัญที่เกิดขึ้นทันทีทันใด อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ
มากกว่า 1 ใน 5 อย่าง
อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
การมองเห็นผิดปกติ
การพูดผิดปกติเช่น
เวียนศีรษะ มีอาการมึนงง บ้านหมุน หรือเดินเซ เสียการทรงตัว
ปวดศีรษะรุนแรงโดยไม่มีสาเหตุชัดเจน
การประเมิน นอกจากอาการและอาการแสดงดังกล่าวแล้ว ควรประเมินสภาพผู้ป่วยทั่วไปและการ
ตรวจ ร่างกายอื่นๆ
พิจารณา Basic life support/ Advanced life support
(neurological signs)
(vital signs)
จัดให้มีพยาบาล /เจ้าหน้าที่คัดกรอง /เวรเปล เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องฉุกเฉินโดยเร็ว (ภายใน 3
นาที)
รายงานแพทย์ทันทีในกรณีต่อไปนี้
4.3ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการผิดปกติ เช่น ระดับน้ําตาลในเลือด ≤ 50 mg/dL หรือ ระดับ
น้ําตาลในเลือด ≥ 400 mg /dL
อาการเจ็บแน่นหน้าอก ชัก เกร็ง กระตุก เหนื่อยหอบ
สัญญาณชีพและอาการแสดงทางระบบประสาทผิดปกติ (ต้องรายงานภายใน 4 นาที)
Head injury; cerebral contusion, concussion, hemorrhage
การตายกับการบาดเจ็บที่ศีรษะ
ผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บที่ศีรษะ ร้อยละ 60 เสียชีวิตก่อนมาถึงโรงพยาบาล ร้อยละ 20 เสียชีวิต
ระหว่างการขนส่ง เมื่อถึงโรงพยาบาลแล้วพบว่า ร้อยละ 70 เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าใน 6 ชั่วโมงแรก
ผู้ป่วยมีชีวิตรอดจะเสียชีวิต ร้อยละ 20 ในระยะเวลาที่นานกว่า 1 เดือน
การพยาบาลเบื้องต้นในผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บศีรษะและสมอง
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 9-12
ผู้ป่วย Moderate brain injury มักมีอาการอารมณ์เปลี่ยนแปลง ปวดหัวมาก ชัก อาเจียน มีการ
บาดเจ็บหลายระบบร่วมกัน มีการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า พบว่าร้อยละ 10-20 จะเกิดอาการ Coma ตามมา
ดังนั้นผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องให้การประเมินสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด แพทย์จะส่งผู้ป่วยทํา CT Brain และ Admit
ทุกราย เพื่อสังเกตอาการ Neurological sings อย่างใกล้ชิด และแพทย์จะทํา CT Brain ซ้ําในช่วง 12-24
ชั่วโมงแรก
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 3-8
ผู้ป่วย Severe brain injury มักมีอาการระดับความรู้สึกตัวลดลง มีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก โดยเฉพาะ
ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypotension โอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้นถึง 2 เท่า และผู้ป่วยที่มีทั้ง Hypotension และ
Hypoxia มีโอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 75 แพทย์จึงรีบทําการวินิจฉัยและส่งผู้ป่วยจะทํา CT Brain ทันทีะ
ผู้ป่วยที่มี Glasgow Coma Score 13-15
ในรายที่หลับตลอดเวลา ควรปลุกตื่นทุก 1-2 ชั่วโมง อย่างน้อย 2 ครั้ง
ให้รับประทานยาแก้ปวด พาราเซต-ตามอล ไทลีนอล ได้ทุก 4-6 ชั่วโมงถ้ามีอาการปวดศีรษะมาก
จัดท่าให้นอนหนุนหมอน 3 ใบ หรือนอนศีรษะสูง 30 องศา
ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่ปรึกษา พร้อมเบอร์โทรศัพท์ เมื่อผู้ดูแลเกิดปัญหาขึ้นจะสามารถช่วยเหลือ
ผู้ดูแลได้
การสังเกตอาการผิดปกติ แล้วนําส่งโรงพยาบาลทันที
Primary Survey เริ่มจาก
B. Breathing
C. Circulation
A. Airway with Cervical spine control
ชนิดการบาดเจ็บศีรษะและสมอง
ความรุนแรง
กลไกการบาดเจ็บออกเป็น Blunt และ Penetrating injury
พยาธิสภาพส่วนต่างๆของสมอง เช่น Skull fracture, Intracranial lesion
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บศีรษะและสมอง
การป้องกันภาวะสมองบวมสาเหตุจาก
การป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่สมอง
ห้ามเลือด และช่วยการไหลเวียนเลือดให้เพียงพอ
ควบคุมภาวะชักเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของสมอง ควบคุมการอาเจียนเพื่อป้องกันการสําลัก
จัดทางเดินหายใจให้โล่ง
เตรียมพร้อมผู้ป่วยไปรับการตรวจวินิจฉัยทางรังสี
การประเมินสภาพของผู้ป่วยให้ถูกต้องครอบคลุมก่อน เพื่อจะช่วยได้ตามลําดับความสําคัญ
ของปัญหาโดยประเมินให้เสร็จในเวลา 3-4 นาที
กรณีที่ผู้ป่วยได้รับการตรวจจากแพทย์แล้วแต่ไม่พบความผิดปกติของระดับความรู้สึกตัวและ
เมื่อแพทย์อนุญาตให้กลับบ้านผู้ป่วยต้องได้รับคําแนะนําแก่ผู้ป่วยหรือญาติใกล้ชิด
นาย วิชยุตม์ บุญทาวงศ์ 6001210132 เลขที่ 7 Section B