Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงร่างกล้ามเนื้อและผู้ป่วยจมน้ำ,…
การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงร่างกล้ามเนื้อและผู้ป่วยจมน้ำ
ระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ
ผู้ป่วยที่มีปัญหา
Pelvic fracture
ระวังการเสียเลือด
Hypovolemic shock
กระดูกหัก ร่วมกับอาการบวม ปวดมาก
ระวัง Compartment syndrome
ได้รับความช่วยเหลือช้า อาจทำให้เกิดความพิการได้
Multiple long tome fracture
มีโอกาสเกิด Pulmonary embolism
อาจจะเสียชีวิตได้
Primary survey
Control bleeding
Direct pressure
Sterile pressure dressing
Splint กระดูกส่วนที่หัก
ใส่ Splint ให้ครอบคลุม
ข้อบนของตำแหน่งที่กระดูกหัก
ข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก
การตรวจร่างกาย
กระดูกเชิงกราน ซี่โครง
หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของกระดูกี่โครง
กระดูกเชิงกราน: ออดแรงกดบริเวณ Anterior superior iliac spine พร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน และกดบริเวณ Pubic symphysis ถ้าหักผู้ป่วยจะปวด
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามต่อชีวิต
Crush syndrome
การบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบริเวณ Thigh และ Calf muscle
เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
Creatinin kinase สูง
Renal failure
Disseminated intravascular coagulopathy (DIC)
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ให้ Sodium bicarbonate
ลด Myoglobin
ทำลาย Tubular system
จนกว่าปัสสาวะจะใส (Clear myoglobinuria)
Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด
การบาดเจ็บของหลอดเลือดแดง
Hard sign
Pulsatile bleeding
Hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลำได้ thrill ฟังได้ bruit
หลังจากรักษาภาวะ Shock แล้ว จึงประเมิน 6Ps ซ้ำเปรียบเทียบกับข้างปกติ
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ต้องคำนึงถึงภาวะ Unstable pelvic fracture
ตรวจร่างกาย
ดู
พบ Progressive flank
Scrotum และ Perineum บวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ pelvic
คลำ
พบกระดูก pelvic แตก PR examination
การเคลื่อนไหว
ข้างที่ผิดปกติจะสั้น
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
ทำ Stabilization pelvic ring
ผู้ป่วยจมน้ำ
ผู้ป่วยที่จมน้ำมักจะตายภายใน 5-10 นาที
หายใจไม่ได้
ขาดอากาศหายใจ
สำลักน้ำ
ถึงแม้รอดมาได้ อาจจะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน
ปอดไม่ทำงาน
เลือดเป็นกรด
ปอดอักเสบ
ปอดบวม
พยาธิสภาพแบ่งตามชนิดของน้ำ
น้ำจืด
น้ำอยู่ในปอดจำนวนมากจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที
ปริมาตรของเลือดไหลเวียนเพิ่มจากเดิม
ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวายได้
เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (Hemolysis)
น้ำทะเล
น้ำทะเลจะดูดซึมน้ำเลือดจากกระแสเลือดเข้าไปในปอด
เกิดภาวะปอดบวมน้ำ
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (Hypovolemic)
ระดับเกลือแร่ในเลือดสูงขึ้น
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจวาย เกิดภาวะช็อกได้
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพ
ผู้ป่วยมีการสูดสำลักน้ำ
Hypotonic solution
เกิดภาวะ Atelectasis
เกิดภาวะ Hypoxia
Hypertonic solution
ถุงลมปอดแตก (Rupture alveoli)
Pulmonary damage
ผู้ที่ไม่มีการสูดสำลักน้ำ
สมองขาดออกซิเจน
Neurogenic pulmonary edema
การปฐมพยาบาล
หยุดหายใจ
เป่าปาก ช่วยหายใจทันที
ถ้าขึ้นบนฝั่งแล้ว ทำการผายปอดด้วยการเป่าปาก
อาจจะจับผู้ป่วยนอนคว่ำแล้วใช้มือสองข้าง วางอยู่ใต้ท้อง ยกท้องผู้ป่วยขึ้น จะช่วยไล่น้ำออกจากท้องให้ไหลออกไปทางปากได้
จับชีพจรไม่ได้
นวดหัวใจทันที
รู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
นางสาวอรณิชา ไชยชนะดวงดี 6001210255 Sec.B เลขที่ 11