Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มักจะตาย ..ภายใน 5 10 นาที มักตายเพราะขาดอากาศหายใจ, 3.6การพยาบาลผู้ป่วยฉ…
มักจะตาย ..ภายใน 5 10 นาที
มักตายเพราะขาดอากาศหายใจ
3.6การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
3.7การพยาบาลผู้ป่วยจมน้า (Drowning)
ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยที่มีการบาดเจ็บกระดูกและข้อ
Secondary survey
การตรวจร่างกาย
การตรวจScreening tes
ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกตัวดีt
กระดูกซี่โครง
หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของกระดูกซี่โครง
กระดูกเชิงกราน
ถ้ากระดูกหักผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวด
กระดูกแขนขา
ให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสอง ยกได้ถือเป็นปกติ
กระดูกสันหลัง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวให้สันนิษฐานว่ามีกระดูกสันหลังบาดเจ็บเสมอโดยเฉพาะส่วนคอ
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior posterior
้ถ่ายครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
การซักประวัติ
สาเหตุการเกิดซึ่งบ่งถึงสาเหตุ ความรุนแรง และลักษณะการบาดเจ็บได้
สถานที่เช่นอุบัติเหตุในน้าสกปรก คูน้า
ระยะเวลานานกว่า 8 ชั่วโมง บาดแผลจะกลายเป็น Infected wound
การรักษาเบื้องต้น เช่น การใส่ Splint การใส่ traction
การรับยาปฏิชีวนะ
Definitive care
2.Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่ (แพทย์)
3.RetentionImmobilization
การประคับประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด
1.Recognition เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา
Rehabilitation เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ รวมทั้งการฟื้นฟูดูแลจิตใจผู้ป่วยให้สามารถกลับมาเป็นปกติ
Reconstruction เป็นการแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อนให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Refer เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
Primary survey
และ Resuscitation
ผู้ป่วยที่กระดูกผิดรูป หรือ fracture
Splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำและ ออกซิเจน
ระหว่างการทา Primary survey และ Resuscitation
Immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตาแหน่งที่ปกติ
*
ใส่ Splint ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตาแหน่งที่กระดูกหัก เพื่อลดการขยับเลือน
ปัญหาสาคัญ
การเสียเลือดจากการบาดเจ็บ
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock
*
การ Control bleeding ดีที่สุดคือ Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
3.Crush Syndrome Syndrome
การช่วยเหลือเบื้องต้น
แพทย์จะพิจารณาให้ Sodium bicarbonate
ภาวะRhabdomyolysis มักจะมีอาการ
Metabolic acidosis
Hyperkalemia,Hypocalcemia
DIC
Hypovolemia
ภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงเกิด
มักเป็นที่กล้ามเนื้อบริเวณ thighthighและ calf muscle
1.Major Pelvic disruption with Hemorrhage
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะ Hypovolemic shock
นึงถึงภาวะ
การบาดเจ็บของเส้นเลือด เส้นประสาทร่วมด้วย
การบาดเจ็บของ Bladder และUrethra
unstable pelvic fracture
จากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
การตรวจร่างกาย
ดู
Scrotum และ Perineum บวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณ Perineum และ Pelvic
คลำ
กระดูก Pelvic แตก
มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว
ขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ตรวจดู Sacral nerve root และ Plexus
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Fluid resuscitation
consult แพทย์ศัลยกรรมเฉพาะทาง
ทำ Stabilization pelvic ring
2 Major Arterial Hemorrhage
ลักษณะของการบาดเจ็บหลอดเลือดแดง
เรียกว่า Hard signs
คลาได้thrill
ฟังได้bruit
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
6 Ps
Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Fluid resuscitation
รายที่กระดูกผิดรูป
ทำการจัดกระดูกให้เข้าที่
ทำการ Splint
ควรทำ Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
การฉีกขาดของหลอดเลือดเป็น
การบาดเจ็บแบบ Blunt trauma หรือ Penetrating wound
เกิด Hypovolemic shock
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้า (Drowning)
พยาธิสภาพ 2 ลักษณะ
น้ำจืด
Na, K ในเลือดลดลง
hemolysis
ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม
น้ำทะเล
ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
hypovolemia
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
1.ระบบทางเดินหายใจและปอด
ผู้ป่วยมีการสูดสาลักสารน้าเข้าไป
Tonicity ของสารน้ำ
น้ำจืด - เกิดภาวะ AtelectasisAtelectasis
น้ำทะเล - เกิด pulmonary damage
ผู้ป่วยที่ไม่มีการสาลักน้า
มักเกิด capillary wall damage และ capillary pressure ที่ปอด
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosisจาก เยื่อบุถุงลมอักเสบ , ถุงลมขาด surfactant ,atelectasis, pulmonary edema
PO2 metabolic acidosis
PCO2 respiratory acidosis
น้ำจืด
hyponatremia, hypochloremia , hyperkalemia
น้ำเค็ม
hypernatremia, hyperchloremia,hypermagnesemia
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย
เด็กอุณหภูมิของร่างกายจะลดลงเร็วกว่าผู้ใหญ่มาก เพราะพื้นที่ผิวกายภายนอกต่อน้าหนักตัวเด็กต่างกับผู้ใหญ่
ผลกระทบจากอุณหภูมิของร่างกายต่า
T32- 28องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T28 -25องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกติ
T35-32องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T25-21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
T37 -35องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
2.การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท
ทำให้ cerebral perfusion ลดลง
เกิด Ischemic brain
ภาวะ circuratory arrest
cerebral hypoxia
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพ
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง
CPR ภายใน 10นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5นาที โอกาสรอด 96%
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
ความรู้ในการว่ายน้ำ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
สุขภาพผู้จมน้ำ
การรับประทานอาหารที่ที่อิ่มใหม่ๆ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
ข้อดีคือการเผาผลาญลดลง brain anoxia ช้าลง
การสูดสาลักน้าเข้าปอดจะทาให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงอย่ารวดเร็ว ทั้งในเลือดและสมอง
การปฐมพยาบาล
. ควรส่งผู้ป่วยที่จมน้าไม่ว่าจะมีอาการหนักเบาเพียงใด ไปพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลทุกราย
ถ้าคลาชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น
ให้ทำการนวดหัวใจทันที
1.คนจมน้ารู้สึกตัวดี สาลักน้าไม่มาก
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะนาให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ผู้ป่วยหยุดหายใจ
ควรลงมือเป่าปาก ตั้งแต่ก่อนขึ้นฝั่ง เช่น หลังจากพาขึ้นบนเรือ หรือพาเข้าที่ตื้น ๆ ได้แล้ว
ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
เมื่อขึ้นบนฝั่งแล้ว ให้ผายปอดด้วยการเป่าปากต่อไป จนกว่าผู้ป่วยจะหายใจได้เอง
ถ้าหากรู้สึกว่าลมเข้าปอดได้ไม่เต็มที่เนื่องจากมีน้าอยู่เต็มท้อง อาจจับผู้ป่วยนอนคว่าแล้วใช้มือ 2 ข้าง วางอยู่ใต้ท้องผู้ป่วย ยกท้องผู้ป่วยขึ้นจะช่วยไล่น้าออกจากท้องให้ไหลออกทางปากได้ แล้วจับผู้ป่วยพลิกหงาย และทาการเป่าปากต่อไป
ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง
ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง เพื่อให้น้าไหลออกทางปาก
อย่าให้ผู้ป่วยกินอาหารและดื่มน้าทางปาก
ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น