Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth Injuries) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บจากการคลอด
(Birth Injuries)
1.ก้อนบวมโนที่ศีรษะ (Caput succedaneum)
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่าง
การคลอดท่าศีรษะ
ทําให้มีของเหลวซึมออกมานอกหลอดเลือดใน
ชั้นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด (V/ E)
การวินิจฉัย
โดยการคลําศีรษะทารกแรกเกิด
พบก้อนบวมในลักษณะนุ่ม กดบุ๋ม
กดไม่เจ็บ เคลื่อนไหวได้
ขอบเขตไม่ชัดเจน
ข้ามแนวรอยต่อของกระดูกกะโหลกศีรษะ
พบทันทีภายหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
พบได้บริเวณด้านข้างของศีรษะ
ก้อนบวมโนนี้ทําให้ศีรษะมีความยาว มากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
สามารถหายได้เองโดยไม่จําเป็นต้องรักษา
จะหายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
ประมาณ 3 วัน ถึง 2 –3 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับขนาดของก้อนบวมในที่เกิดขึ้น
2.ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ (Cephalhematoma)
สาเหตุ
เกิดจากมารดามีระยะเวลาการคลอดยาวนาน ศีรษะทารกถูกกดจากช่องคลอด
จากการใช้เครื่องสูญญากาศช่วยคลอด
เป็นผลให้หลอดเลือดฝอยบริเวณเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะทารกฉีกขาด
อาการและอาการแสดง
จะปรากฏให้เห็นชัดเจนภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
ลักษณะการบวมจะมีขอบเขตชัดเจนบนกระดูกกะโหลก ศีรษะชิ้นใดชิ้นหนึ่ง
รายที่มีอาการรุนแรงอาจพบอาการแสดงทันทีหลังเกิด
พบก้อนโนเลือดมีสีดําหรือนํ้าเงินคลํ้า
ภาวะแทรกซ้อน
หากก้อนในเลือดมีขนาดใหญ่
จะเกิดภาวะระดับบิลิรูบินในเลือดสูง
อาจเกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโนเลือด
การวินิจฉัย
1.จากประวัติพบว่าระยะคลอดมารดาเบ่งคลอด
นาน หรือได้รับการช่วยคลอดด้วยเครื่องสูญญากาศ
2.จากการตรวจร่างกายพบบริเวณศีรษะทารก
แรกเกิด มีก้อนบวมโนบนกระดูกกะโหลกศีรษะ ชั้นใดชั้นหนึ่งมี ลักษณะแข็งและคลําขอบได้ชัดเจน
3.เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา
( Subconjunctivalhemorrhage )
สาเหต
เกิดจากการที่มารดาคลอดยาก
ศีรษะทารกถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ตาแตกทําให้มีเลือดซึมออกมา
การวินิจฉัย
ตรวจพบมีเลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตาทารก
ภายหลังคลอด
แนวทางการรักษา
สามารถหายไปได้เองโดยไม่ต้องการการรักษา
โดยใช้ระยะเวลา 2 –3 สัปดาห์
4.เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ
(Facial nerve palsy )
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
โดยเฉพาะในรายที่คลอดยาก
ภาวะแทรกซ้อน
ในรายที่มีอาการรุนแรงไม่สามารถปิดตาได้ อาจ
ทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อน คือ กระจกตาเป็นแผล ( corneal ulcer ) ที่ตาของทารกข้างที่กล้ามเนื้อหน้าเป็นอัมพาต
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาต
จะอ่อนแรง
เห็นได้ชัดเจนว่าไม่สามารถเคลื่อนไหวหน้าผาก
ข้างที่เป็น อัมพาตให้ย่นได้
ไม่สามารถปิดตาได้
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยว ไม่สามารถเคลื่อนไหว
ปากข้างนั้นได้
กล้ามเนื้อจมูกแบนราบ
ใบหน้าสองข้างของทารกไม่สมมาตรกัน
5.อัมพาตที่แขน
(Brachial plexus palsy)
อุบัติการณ์
พบได้บ่อยเช่นเดียวกับการเกิดอัมพาตที่หน้า
ส่วนใหญ่พบในทารกที่มีขนาดใหญ่(macrosomia)
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงแขนได้รับบาดเจ็บจากการ
คลอด ทําให้เกิดอัมพาตของแขนส่วนบน ( upperarm ) อาจไม่มีหรือพบร่วมกับอัมพาตของแขนท่อนปลาย ( forearm ) คือส่วนข้อมือถึงข้อศอกอัมพาตของมือ หรืออัมพาตของทั้งแขน
สาเหตุ
การทําคลอดไหล่ที่รุนแรง
การทําคลอดท่าศีรษะผิดวิธี เช่น ทําคลอดโดยการเหยียดศีรษะและคอของทารกอย่างรุนแรง
การทําคลอดแขนให้อยู่เหนือศีรษะในรายทารกใช้ก้นเป็นส่วนนํา
6.กระดูกหักในทารก (Fracture)
การหักของกระดูกแขน (humerus) หรือกระดูกขา
ได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทําคลอด
บริเวณที่มีกระดูกหักมีสีผิวผิดปกติ
ข้อสะโพกเคลื่อน (hip dislocation)
หัวกระดูกขาหลุดออกจากเบ้ากระดูก
สะโพก
เส้นเอ็นถูกยืดออกเป็นผลทําให้หัวกระดูก
ต้นขา ถูกดึงรั้งสูงขึ้น
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture clavicle)
มีอัมพาตเทียม (pseudoparalysis)
ไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหัก
(ไม่มี mororeflex)
คลําบริเวณที่หักได้ยินเสียงกรอบแกรบ
(crepitus) และไม่เรียบ
กล้ามเนื้ออก กล้ามเนื้อไหปลาร้าและ
กล้ามเนื้อกกหู(sternocleidomastiodmuscle) หดเกร็ง
กิจกรรมการพยาบาล
3.สังเกตท่าทางการนอนของทารก ดูความสมดุลของการงอแขน
ขา การเคลื่อนไหว
4.ประเมินสีผิว อาการฟกชํ้า จุดจํ้าเลือด รอยถลอกและแผลฉีก
ขาด
2.ประเมินทารกโดยวางใต้ radiant warmer ที่มีแสงสว่าง
เพียงพอ
5.ประเมินลักษณะรูปร่าง ท่าทางและการเคลื่อนไหวของคอและ
ศีรษะ คลําดูการเกยกับของกะโหลกศีรษะ ก้อนบวมนํ้า/บวมเลือดที่ศีรษะ กะโหลกศีรษะแตก และคลํากระหม่อม
1.ทบทวนประวัติการฝากครรภ์และการคลอดก่อนการประเมิน
ร่างกายทารก
6.ประเมินความสมดุลของกล้ามเนื้อใบหน้า การกระพริบตา การ
ขยายของรูม่านตา และรีเฟล็กซ์ต่าง ๆ
7.ประเมินภาวะเลือดออกใต้เยื่อบุตา
8.ประเมินความโล่งของรูจมูก
9.ประเมินความสมดุลในการเคลื่อนไหวของแขนขา คลํา กระดูก
ไหปลาร้า บันทึกหากมีการหักหรือเกยกัน
10.ประเมินประสิทธิภาพในการขยับนิ้วมือ นิ้วเท้า
11.ประเมินขนาดรูปร่าง การยืดขยายของหน้าท้อง ฟังเสียง ลําไส้
เคลื่อนไหว
12.ประเมิน Moro Reflex ,BarbinskiReflex และการคดงอของ
กระดูก
13.บันทึกสิ่งผิดปกติที่ตรวจพบและรายงานแพทย์
14.ช่วยเหลือส่งตรวจเพิ่มเติม เช่น เอกซ์เรย์, อัลตราซาวนด์ , ซีทีสแกนเป็นต้น
15.อธิบายกับบิดา มารดา เรื่องการบาดเจ็บของทารก และให้
ความ มั่นใจว่าการบาดเจ็บจะสามารถหายได้เอง
16.บันทึกอาการเปลี่ยนแปลงทุกเวรว่าอาการดีขึ้นหรือมี
ภาวะแทรกซ้อน