Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ, นางสาวญาตาวี มนตรี รุ่น36/1…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
สาระสำคัญเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
Respiratory tract
Upper
Lower
ขบวนการแลกเปลี่ยน gas เกิดที่ถุงลม
อัตราการหายใจของเด็ก
2-12เดือน
ไม่เกิน50ครั้ง/นาที
1-5ปี
ไม่เกิน40ครั้ง/นาที
ต่ำกว่า2เดือน
ไม่เกิน60ตรั้ง/นาที
O2 sat
มากกว่า95-100%
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Stridor
หายใจมีเสียงดังคล้ายเสียงคราง
Tachypnea
อัตราการหายใจเร็วกว่าปปกติ
Bradypnea
หายใจช้ากว่าปกติ
Dypnea
หายใจลำบาก
Nasal flaring
การหายใจที่ปีกจมูกบาน
ลักษณะการหายใจลำบาก
เป็นการช่วยขยายท่อทางเดินหายใจ ให้อากาศหายใจเข้าเพียงพอต่อความต้องการ
Retraction
ขณะหายใจเข้ามีการยุบลง
Costal retraction
ช่องระหว่างซี่โครงยุบ
Subcostal retraction
ใต้ซี่โครงยุบ
Sternal retraction
กระดูกหน้าอกยุบ
เสียงหายใจผิดปกติ
Stridor
เกิดจากการตีบแคบของกล่องเสียงหรือหลอดลม
ระดับเสียงสูง ลักษณะคล้ายเสียงคราง
พบบ่อยในเด็กที่เป็น croup
Crepitation
พบในภาวะปอดอักเสบ
เกิดจากลมผ่านทางเดินหายใจที่มีน้ำหรือเสมหะ
Rhonchi
เกิดจากมีอากาศไหลผ่านเข้าทางเดินหายใจที่ตีบแคบกว่าปกติ การตีบแคบอาจเกิดจาก
เสมหะอุดตัน
เยื่อบุทางเดินหายใจบวม
wheezing
เสียงที่มีความถี่สูงหรือเสียงหวีด
เกิดจากหลอดลมเล็กๆ หรือหลอดลมฝอยเกิดการบีบเกร็ง
พบในผู้ป่วยหอบหืด
กลไกการสร้างเสมหะ
การขจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากทางเดินหายใจ
การพัดโบกของCilia
: พัดโบกสิ่งแปลกปลอม
กลไกการไอ Cough reflex
: เป็นการขับเคลื่อนเสมหะ
การสร้างMucous
: ดักจับสิ่งแปลกปลอม
ติดเชื้อ
จะเกิดไรขึ้น
ต่อมสร้างสารคัดหลั่ง สร้างmucous มากขึ้น เสมหะมากขึ้น
ทำลายเยื่อบุหลอดลมและciliaมากขึ้น จำนวนcilia ลดลง
เสมหะมากและเหนียวข้นไม่ถูกพัดออกจากทางเดินหายใจ
เกิดการคั่งค้างของเสมหะในหลอดลม
การไออย่างมีประสิทธิภาพป้องกันการคั่งค้างเสมหะ
ทำไมเพิ่มน้ำในผู้ป่วยมีเสมหะ
น้ำให้ความชุ่มชื้นต่อทางเดินหายใจ เสมหะเหนียวน้อยลง ขับออกได้ดี
Cilia พัดดบกได้ดีขึ้น เสมหะขับออกง่ายขึ้น
น้ำเท่าไหร่ถึงจะพอ ประเมินจากสีของปัสสาวะ
ลักษณะเสมหะ
เสมหะเหนียว
เป็นมูกคล้ายแป้งเปียก ยืดและหนืดมาก
ประเมินว่าได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
เสมหะไม่เหนียว
เป็นเมือกเหลว ยืดและหนืดน้อย ไอขับออกง่าย
ปัญหาทางเดินหายใจในเด็กที่พบบ่อย
Croup
เป็นกลุ่มอาการอุดกลั้นทางเดินหายใจส่วนบนบริเวณกล่องเสียง และที่อยู่ใต้ลงมา
สาเหตุเนื่องจากการอักเสบจากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียบริเวณ
กล่องเสียง
กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ หลอดลมฝอยในปอด
ฝาปิดกล่องเสียง
อาการ
Inspiratory stridor
Barking cough
ไข้ เจ็บคอ หายใจลำบาก น้ำลายไหล
ไม่ตอบสนองต่อยาพ่นยาทั่วไป
ปัญหาสำคัญที่ต้องดูแล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนจากมีการอุดกลั้นทางเดินหายใจ
Tonsilitis / Pharyngitis
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ไอ เจ็บคอ มีตุ่มใสหรือแผลตื้นที่คอหอย
กินยา antibiotic ให้ครบ10วัน
ป้องกันหัวใจรูห์มาติค
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
ป้องกันไข้รูห์มาติค
การรักษา
การผ่าตัดต่อมทอนซิล(tonsillectomy)
ทำเมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าเป็นการติดเชื้อเรื้อรัง จนรบกวนคุณภาพชีวิต
การดูแลหลังผ่าตัด
ให้เด็กนอนตะแคงไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อสะดวกในการระบายเสมหะ
สังเกตอาการและการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ชีพจร120ครั้ง/นาที ต่อเนื่อง มีการกลืนติดต่อกัน ซึมลง
มีเลือดออก
หลังผ่าตัด1-2วันแรก ผนังคออาจบวม หายใจอึดอัด
นอนศีรษะสูง
อมและประคบน้ำแข็งบ่อยๆ
ประคบและอมทุก10นาที พัก10นาที
หลีกเลี่ยงแปรงฟันเข้าไปในช่องปากลึกๆ
รับประทานอาหารอ่อน เหลว อาหารเย็นหรือไอศกรีม
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส
ฺBeta Hemolytic streptococcus gr.A
Sinusitis
เป็นการอักเสบของโพรงข้างจมูก
สาเหตุ
ติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
เกิดการบวมของเยื่อบุในโพรงจมูก
เกิดภาวะอุดตันช่องระบาย ทำให้เกิดการคั่งของสารคัดหลั่ง
ความดันโพรงจมูกเป็นลบ จามหรือสูดทำให้เชื้อมีโอกาสเข้าโพรงจมูกได้ง่าย
การทำงานของciliaผิดปกติ สารคัดหลั่งมากและหนืด
ระยะของโรค
Acute
ไม่เกิน12weeks
Chronic
ต่อเนื่องเกิน 12 weeks
การวินิจฉัย
X-ray
ทำในเด็กอายุเกิน6ปี เพราะไซนัสเจริญไม่เต็มที่
CT scan
ได้ผลดีกว่าวิธีอื่น
ส่องไฟผ่าน
พบว่ามัว
การดูแลรักษา
ยาแก้ปวด ลดไข้
ยาแก้แพ้
ในรายที่มีไซนัสอักเสบเรื้อรังที่มีสาเหตุชักนำจากโรคเยื่อบุจมูกอักเสบจากภูมิแพ้เท่านั้น
ลดจาม ลดน้ำมูก
ไม่แนะนำในผู้ป่วยเฉียบพลัน ทำให้จมูกแห้ง
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
ยาSteroid เพื่อลดบวม
การล้างจมูก
ป้องกันการลุกลามของเชื้อโรค ลดจำนวนเชื้อ เพิ่มความชุ่มชื้น
ล้างก่อนพ่นยา ทำให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น
ล้างวันละ2-3ครั้ง
ใช้ 0.9% NSS
Asthma
มีการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้เยื่อบุผนังหลอดลม ตอบสนองต่อสารภูมิแพ้มากกว่าปกติ
ไวต่อสิ่งกระตุ้น เกิดพยาธิสภาพ
หลอดลมตีบแคบ เยื่อบุบวม
สร้างเมือกเหนียวจำนวนมาก
หลอดลมหดเกร็ง
การดูแล
ได้รับยาขยายหลอดลม
ได้รับออกซิเจน
พักเพื่อลด activity
ไม่เคาะปอดในเด็ก เพราะจะทำให้หลอดลมหดเกร็ง
ดูแลให้ได้ยาลดบวม
อาการ
เริ่มด้วยอาการหวัด ไอ มีเสมหะ ไอมากขึ้นมีเสียงWheezing
บางคนไออย่างเดียว อาเจียนร่วมด้วย อาการไอดีขึ้นเมื่อได้อาเจียนเอาเสมหะออก
ความรุนแรง
ปานกลาง
ตื่นกลางคืนบ่อยๆ เล่นซนไม่ค่อยได้ ขณะเล่นไอหรือมีเสียงWheezing
รุนแรง
กระสับกระส่าย เล่นไม่ได้ เหนื่อนจนพูด กิน ไม่ได้
เล็กน้อย
เล่นซนได้ปกติ ทานอาหารปกติ
การรักษา
ลดอาการ หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ใช้ยาถูกต้อง
ยาขยายหลอดลม
ชนิดพ่นได้ผลเร็ว ดูแลให้บ้วนปากหลังพ่นยาเพื่อป้องกันเชื้อรา
ยาลดการบวม
ควรให้ระยะสั้น3-5วัน เพื่อรักษาและป้องกันไม่ให้รุนแรง
การใช้ Baby haler
ล้างแล้วตากให้แห้ง ไม่ควรใช้ผ้าเช็ด เพราะจะเกิดไฟฟ้าสถิต
ไม่ควรล้างบ่อย
ก่อนใช้ต้องพ่นยาทิ้ง
Bronchitis / Bronchiolitis
การรักษา
ให้ยาลดไข้ ยาปฏิชีวนะ ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลปัญหาการติดเชื้อ เสริมภูมิต้านทาน
เกิดเชื้อ ทำลายเนื้อเยื่อหลอดลมฝอย ทำให้อักเสบ บวม เกิดการคั่วของเสมหะ เกิดAtelectasis
เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนล่าง เชื้อที่เป็นสาเหตุคือRSV
Pneumonia
สาเหตุ
สำลักสิ่งแปลกปลอม ติดเชื้อ
เกณฑ์ที่ใช้ตัดสิน
2เดือนถึง1ปี
Rมากกว่า50ครั้งต่อนาที
1-5ปี R มากกว่า40ครั้งต่อนาที
เด็กแรกเกิด
Rมากกว่า60ครั้งต่อนาที
การรักษา
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลเรื่องไข้ Clear airway suction
ดูแลภาวะพร่องO2
การพยาบาล
สอนวิธีไออย่างอย่างถูกวิธี
เสมหะอยู่ลึกให้เคาะปอด
จัดท่าศีรษะสูง นอนทับข้างที่มีพยาธิ เพื่อให้ปอดข้างที่ดีขยายตัวอย่าฝมีประสิทธิภาพ
การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
การระบายเสมหะ
การจัดท่าผู้ป่วย(Postural drainage)
อาศัยแรงโน้มถ่วงเป็นหลัก จัดส่วนของปอดที่ต้องระบายอยู่ด้านบน
การเคาะ(Percussion)
ใช้อุ้งมือ ทำมือคุ้ม เรียกว่า
cupped hand
ใช้ผ้ารองเวลาเคาะ เคาะท่าละประมาณ1นาที
ผู้ป่วยไอควรหยุดเคาะ
การสั่นสะเทือน(vibration)
วางมือราบเกร็งกล้ามเนื้อต้นแขนและหัวไหล่ จังหวะหายใจเข้าเต็มที่ และกำลังหายใจออก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ(Effective cough)
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าเต็มที่ช้าๆ กลั้นไว้สักครู่และไอออกโดยเร็วและแรง
การพ่นยาในเด็ก
ประโยชน์
เสมหะอ่อนตัว ระบายออกง่าย
ให้ความชุ่มชื้อแก่อากาศ
เพิ่มประสิทธิภาพการไอขับเสมหะ
ข้อปฏิบัติการพ่นยาแบบละออง
ไม่ควรให้เด็กร้อง ปริมาณยาเข้าปอดน้อย
ใช้มือประคองกระเปาะยา เพื่อให้Tempคงที่
เคาะกระเปาะไม่ให้ยาตกค้าง และพ่นจนกว่ายาหมดใช้เวลา10นาที
Face mask
ต้องการออกซิเจนปานกลาง
ความเข้มข้นออกซิเจน 35%-50%
เปิด O2 flow rate5-10lit/min ไม่ควรน้อยกว่า5 เพื่อป้องกันการคั่งCO2
Nasal cannula
ต้องการความเข้มข้นไม่สูงมาก
เด็กเล็กปรับไม่เกิน2lit/min เด็กโตปรับที่2lit/min
ไม่ควรให้การไหล O2 มากเกินไป ทำให้เยื่อจมูกแห้ง ระคายเคืองได้
ข้อจำกัดในผู้ป่วยน้ำมูกมาก เยื่อบุบวม จมูกเอียง
Oxygen hood/Box
เหมาะสำหรับทารกแรกเกิดหรือเด็กเล็ก
ความเข้มข้นO2 30%-70% ขึ้นกับขนาดHood/box
เปิด O2 อย่างน้อย7lit/min เพื่อป้องกันการคั่งCO2
Hood
ไม่ควรลดflow rate ต่ำกว่า3lit/min ป้องกันการคั่งCO2
นางสาวญาตาวี มนตรี รุ่น36/1 เลขที่31 รหัส612001032