Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ - Coggle Diagram
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ชนิดการเฝ้าระวัง
การเฝ้าระวังเชิงรุก (Active surveillance)
เป็นการค้นหาเชิงรุก เพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้ข้อมูลการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้น
การเฝ้าระวังตัวแทน (Sentinel)
ติดตามสถานการณ์การเกิดโรคในกลุ่มตัวแทนของประชากรที่ต้องการสะท้อนปัญหา
การเฝ้าระวังเชิงรับ (Passive surveillance)
รายงานผู้ป่วยที่มารับบริการเป็นปกติประจำตามเวลาที่กำหนด
การเฝ้าระวังเฉพาะ (Special)
เฝ้าระวังเพื่อดำเนินการกับเรื่องเฉพาะ
ความหมาย
หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมวิเคระาห์และแปรผลข้อมูลทางสุขภาพอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ
ความสำคัญของการเฝ้าระวัง
ติดตามการเกิดโรคหรือภัยที่เปลี่ยนแปลงและอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
ติดตามภาวะของผู้สัมผัสโรคอย่างใกล้ชิด
ตรวจพบโรคหรือภัยที่มีผลต่อชุมชนอย่างรวดเร็ว
วัดระดับความสำคัญของปัญหาได้ถูกต้อง รวดเร็ว
ประโยชน์การเฝ้าระวัง
เป็นประโยชน์ในการใช้จัดเรียงลำดับความสำคัญและจัดสรรทรัพยากรให้เหมาะสม
เป็นประโยชน์ช่วยให้สามารถตรวจพบปัญหาข้อบกพร่องในการป้องกัน
เป็นประโชน์ในการติดตามแนวโน้มที่พบในพื้นที่และพยากรณ์การเกิดโรคในภายหน้า
เป็นประโยชน์ในการชี้แนะหาแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม
ทำให้ค้นพบโรคหรือภัยที่อันตรายต่อสุขภาพได้ทันท่วงที ดำเนินการป้องกันควบคุมแก้ไขสถานการณ์ก่อนลุกลาม
เป็นประโยชน์ในการชี้แนะแนวทางในการบำบัดรักษาพยาบาล
เป็นประโยชน์ในการเร่งรัดการดำเนินงานของวงการสาธารณสุข
การเฝ้าระวังเหตุการณ์
ตรวจสอบ/ศูนย์รับแจ้งข่าว รพ.สต.-สอ.
แจ้งข่าว/แหล่งข่าวในชุมชน
สอบสวน/SRRT อำเภอ
ขั้นตอนการดำเนินงานเฝ้าระวัง
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเฝ้าระวัง
รูปแบบตาราง
รูปแบบกราฟ เช่น กราฟเส้น
รูปแบบแผนที่
การเก็บรวบรวมและเรียบเรียงนำเสนอข้อมูลเฝ้าระวัง
การเก็บข้อมูลด้วยบัตรรายงานผู้ป่วย (แบบ รง 506)
การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลการเฝ้าระวัง
วิเคราะห์ตามระบาดวิทยาเชิงพรรณนาเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรก เป็นแบบแผนการกระจายโรคด้าน
สถานที่
บุคุคล
เวลา
วิเคราะห์แนวโน้มการเกิดโรคมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
เปรียบเทียบข้อมูลอย่างน้อย 2 จุด ถึงจะทราบทิศทางการเปลี่ยนแปลง
ข้อมูลที่มักจะนำมาเปรียบเทียบกัน
ค่าของข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
ค่าของข้อมูลที่คาดว่าจะเป็น
การแปลผลข้อมูลเฝ้าระวัง
เมื่อค่าตัวเลขข้อมูลที่เป็นปัจจุบันสูงกว่าคาดว่าจะเป็นแสดงว่า ผิดปกติ
สิ่งที่ต้องดำเนินการ คือ การสอบสวนหาสาเหตุของความผิดปกติ
หลักเกณฑ์การดำเนินการสอบสวนหาสาเหตุความผิดปกติ จะมีความแตกต่างกันในแต่ละโรค
การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผู้ป่วยที่เข้ามาอาจไม่สะท้อนอุบัติการที่แท้จริง
เป้าหมายการเฝ้าระวังเหตุกาณณ์
แจ้งเร็ว
ควบคุมโรคเร็ว
รู้เร็ว