Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia) - Coggle Diagram
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia)
ความหมาย
ทารกแรกคลอด หากไม่สามารถหายใจได้
อย่างมีประสิทธิภาพภายในระยะเวลาอันสั้น
จะท่าให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์
และมีภาวะร่างกายเป็นกรดตามมา
กลไก
การไหลเวียนเลือดทางสะดือขัดข้อง เช่น สายสะดือถูกกดทับ
ไม่มีการเปลี่ยนออกซิเจนที่รก เช่น abruptio placenta
มีการนำออกซิเจนหรือสารอาหารจากมารดาสู่ทารกไม่เพียงพอ
ปอดทารกขยายไม่เต็มที่และการไหลเวียนเลือดไม่สมบูรณ์
พยาธิสภาพ
ทารกขาดออกซิเจนสาเหตุต่าง ๆท่าใหเ้กิดการหายใจทางปาก หายใจไม่สม่ำเสมอ และหัวใจเต้นช้าลงส่งผลใหเ้กิดภาวะเลือดเป็นกรด pH, PaO2 ลดลงแต่PaCO2 เพิ่มขึ้นการกระจายของเลือดไปสู่อวัยวะต่างๆเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเพื่อให้หัวใจและสมองได้รับเลือดและออกซิเจนอย่างสม่ำเสมอ ถ้าภาวะขาดออกซิเจนแรกเกิด นานเกิน 4-5 นาทีหัวใจและสมองก็จะขาดออกซิเจน จะท่าให้เกิดภาวะเลือดเป็นกรดมากขึ้นทำใหเ้กิด pulmonary vasoconstriction มากยิ่งขึ้นท่าให้การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
อาการและอาการแสดง
ระยะอยู่ในครรภ์
ทารกเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมามีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ
ระยะคลอด
พบขี้เทาในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
แรกคลอดทันทีมีคะแนน APGAR ต่ำ 7 ตัวเขียว ไม่หายใจเอง ตัวนิ่ม อ่อนปลวกเปียก ปฏิกิริยาลดลง หัวใจเต้นช้า มีการเปลี่ยนแปลงและมีอาการและอาการแสดง
ปอด
ทารกคลอดก่อนกําหนดเกิดภาวะ RDS
ทารกทีคลอดครบกําหนดจะเกิดภาวะ PPHN
ทารกมีอาการหายใจหอบ ตัวเขียว
หัวใจและการไหลเวียนเลือด
หัวใจเต้นเร็ว ผิวซีด หายใจแบบ gasping มีmetabolicacidosis อุณหภูมิรา่ งกายต่ำลง ความดันโลหิตต่ำ
ระบบประสาท
ถ้าขาดออกซิเจนนานทารกจะซึม หยุดหายใจบ่อย หวัใจเต้นชา้ลง ม่านตาขยายกวา้งไม่ตอบสนองต่อแสง ไม่มีDoll’s eyemovement และมักเสียชวีติ
ถ้าขาดออกซิเจนในระยะเวลาสัน2 ๆเพียงอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงและดูดนมได้ไม่ดีhypoxic ischemic encephalopathy (HIE)
สูญเสียกําลังกล้ามเนื้อ
ชัก
ระดับความรู้สึกผิดปกติ
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมิน APGAR
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
1.การให้ความอบอุ่น
ดูแลทารกภายใต้(radiantwarmer)แล้วเช็ดผิวหนังทารกให้แห้งอย่างรวดเร็วหรือวางทารกบนหน้าท้องหรือหน้าอกมารดา โดยให้ผิวหนังทารกและมารดาสัมผัสโดยตรง
2.ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
กรณีไม่มีขี้เทา ใช้ลูกสูบยางแดงดูดสิ่งคัดหลั่งในปากก่อนและจมูก
กรณีมีขี้เทา ใช้สายดูดเสมหะ 12-14F หรือใช้ลูกสูบยางแดง ถ้าไม่หายใจ หรือตัวอ่อน PR < 100 /min ใส่ ET tube ดูดขี้เทาออกจากคอหอยและหลอดคอให้มากที่สุด
3.การกระตุ้นทารก
การเช็ดตัวและดูดเมือกจากปากและจมูก ถ้าไม่ร้องให้ลูบบริเวณหลัง หน้าอก ดีดส้นเท้า
4.การให้ออกซิเจน
ในทารกที่มีตัวเขียว อัตราการเต้นของหัวใจช้า หรือมีอาการหายใจล าบาก
ให้ออกซิเจน 100% ที่ผา่ นความช้ืนและอนุ่ ผา่ นทาง mask หรือท่อใหอ้อกซิเจน
5.การช่วยหายใจ
การช่วยหายใจดว้ยแรงดนั บวก โดยใช้mask และ bag มีข้อบ่งชี้ ดังนี้
1) หยุดหายใจหรือหายใจแบบ gasping
2) อตัราการเตน้ของหวัใจนอ้ยกวา่ 100คร้ัง/นาที
3) เขียวขณะได้ออกซิเจน 100%
การประเมินวา่ การช่วยหายใจเพยีงพอหรือไม่ ประเมินไดจ้าก
1.การขยายของปอดท้งัสองขา้ง โดยดูจากการเคลื่อนไหวของหนา้อกท้งัสองข้าง และฟังเสียงการหายใจ
2) การมีสีผวิที่ดีข้ึน
3) อัตราการเต้นของหัวใจเป็ นปกติ
หลังช่วยหายใจดว้ยออกซิเจน 100% นาน 30วินาทีแลว้ตอ้งประเมินวา่ ทารกมีการหายใจไดเ้องหรือไม่
1 ถา้อตัราการเตน้ของหวัใจมากกวา่ 100คร้ัง/นาทีจะค่อยๆ ลดการช่วยหายใจดว้ยแรงดันบวกและหยุดได้
2 ถา้ทารกหายใจเองไม่เพยีงพอหรืออตัราการเตน้ของหวัใจนอ้ยกวา่ 100คร้ัง/นาที ตอ้งช่วยหายใจดว้ย mask และbag หรือใส่ท่อหลอดลมคอ
3 ถา้อตัราการเตน้ของหวัใจนอ้ยกวา่ 60คร้ัง/นาทีตอ้งช่วยหายใจและทา การนวดหวัใจร่วมดว้ยและพิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอ
6.การใส่ท่อหลอดลมคอ
1) เมื่อตอ้งช่วยหายใจดว้ยแรงดนั บวกเป็นเวลานาน
2) เมื่อช่วยหายใจดว้ย mask และ bagแลว้ไม่ไดผ้ล
3) เมื่อตอ้งการดูดสิ่งคดัหลงั่ ในหลอดลมคอ กรณีที่มีข้ีเทาปนเป้ือนน้า คร่ า
4) เมื่อต้องการนวดหัวใจ
5) ทารกมีไส้เลื่อนกระบงัลม หรือน้า หนกั ตวันอ้ยกวา่ 1,000 กรัม
7.การนวดหัวใจ(Chest compression)
คืออตัราการเตน้ของหวัใจทารกยงัคงนอ้ยกวา่ 60 คร้ัง/นาทีขณะที่ไดช้่วยหายใจดว้ยออกซิเจน 100% นาน 30วินาที นวดบริเวณกระดูกสนัอกตรงตา แหน่งหน่ึงส่วนสามล่างของกระดูกสนัอก ความลึกประมาณ 1/3ของความหนาของทรวงอกและอตัราส่วนระหวา่ งการนวดและช่วยหายใจเป็น 3 : 1
การให้ยา (medication)
Epineprine ใชเ้มื่อช่วยหายใจดว้ยออกซิเจน 100% และนวดหวัใจนานเกิน 30วินาทีแลว้อตัราการเตน้ของหวัใจยงัคงนอ้ยกวา่ 60คร้ัง/นาที
สารเพิ่มปริมาตร(volume expanders) ใช้เมื่อทารกมีภาวะ hypovolemic โดยให้น้า เกลือนอร์มอล(NSS) หรือ Ringer’s lactate หรือ packed red cell ขนาด 10 มล./ก.ก. ในเวลา5-10 นาทีใหซ้้า ไดเ้มื่อทารกมีการตอบสนองที่ดีข้ึนและตอ้งการเพิ่ม
Naloxone hydrochroride (Narcan) เป็นยาตา้นฤทธ์ิยาเสพติดที่ไม่กดการหายใจใชก้ บั ทารกที่มารดาไดร้ับยากลุ่มยาเสพติดที่กดการหายใจภายใน 4 ชวั่ โมงก่อนคลอดภายหลงัช่วยหายใจแล้ว ห้ามให้ในทารกที่เพิ่งเกิดจากมารดาที่สงสยัติดยาเสพติดเพราะวา่ จะเป็นการถอนยาอยา่ งกะทันหันท าให้ทารกชักได้ ให้ขนาด 0.1 มก./ก.ก. หรือ 0.25 มล./ ก.ก. ของยาที่มีความเข้มข้น0.4 มก./ มล.
การพยาบาล
เตรียมทีมบุคลากร เครื่องมือใหพ้ ร้อมก่อนคลอด ในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการแสดงที่น่าสงสยัวา่ จะเกิด asphyxia
ดูดสิ่งคดัหลงั่ ใหม้ ากที่สุดก่อนคลอดลา ตวั
เช็ดตวัทารกใหแ้หง้ทนั ทีหลงัคลอดและห่อตวัรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สงัเกตอาการขาดออกซิเจน เช่น ริมฝีปากและปลายมือปลายเทา้ซีด เขียว หายใจปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง หน้าอกบุ๋ม หรืออาการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เพื่อใหก้ารช่วยเหลือและปรึกษาแพทยต์ ่อไป
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลใหไ้ดร้ับอาหารและสารน้า ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
ดูแลใหพ้กัผอ่ น
10.ส่งเสริมสมั พนัธภาพระหวา่ งมารดาและทารก
การจำแนกความรุนแรง
mild asphyxia
moderate asphyxia
severe asphyxia