Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาว สุทธิดา…
บทที่ 1
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Family Centered Care/สิทธิเด็ก
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
บิดามารดาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็กเกี่ยวกับสาเหตุการเจ็บป่วยการได้รับการดูแลเละการรักษา
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กแต่ละวัย
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
การติดต่อกับผู้ให้บริการแก่เด็กและครอบครัว
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลผู้ดูแลเด็กป่วย ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาให้
ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคมของเด็กรวมทั้งการดูแลสุขภาพการเจ็บป่วยของเด็กเเต่ละวัย
พยาบาลให้การดูแลเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการ
ป้องกันความผิดปกติส่งเสริมการปรับตัวของเด็กกับพี่น้องบิดา
มารดาและครอบครัว
บทบาทของพยาบาลในการดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ดังนี้
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ รวมทั้งระบบของ
ครอบครัว มีการวางแผนการพยาบาล
ป้องกันภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นได้ละส่งเสริมให้เด็กและครอบครัวดูแลการเจ็บป่วยขั้นต้นได้
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ปุวยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ประสานและส่งต่อกับพยาบาลในชุมชนเกี่ยวกับการดูแลเด็กปุวยและสมาชิกในครอบครัว
ส่งเสริมทางด้นจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะ
วิกฤตได้
สิทธิเด็ก
สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด (Right of Survival) คือ สิทธิของเด็กที่คลอดออก มาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิิทธิในการพัฒนา (Right of Development) คือ การได้รับโอกาสในการพัฒนา อย่างเต็มตามศักยภาพ
สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection) คือ การได้รับการ คุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติการล่วงละเมิดการถูกกลั่นแกล้งการถูกทอดทิ้ง
4.สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation) คือ การให้เด็กได้รับบทบาทที่สำคัญในชุมชน เด็กมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมในสังคม
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
Separation Anxiety
ภาวะวิตกกังวลจากการพลัดพราก
เป็นความรู้สึกไม่มั่นคงหรือกลัวว่าจะได้รับอันตราย เกิดจากการที่เด็กถูกแยกจากบุคคลสำคัญของเด็ก
พบบ่อยในวัยเด็ก 6 เดือน - 3 ปี โดยมี พฤติกรรมแต่ละวัยแตกต่างกัน
วัยทารก (อายุแรกเกิด-1ปี)
ร้องกวน จะเกาะติดมารดาตลอดวลา
วัยหัดเดินหรือวัยเตาะแตะ (อายุ 1-3 ปี)
ไม่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวลา
ไม่มีความอดทนการแยกจากบิดามารดาเสมือนการถูกทอดทิ้ง
ระยะประท้วง (protest) เด็กจะร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้อง
เรียกหาบิดามารดา
ระยะหมดหวัง (despair) เด็กจะร้องไห้น้อยลง กิจกรรมต่างๆ ลดลง ซึม
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม
ระยะปฏิเสธ (denial o detachment) เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ซึ่งมองดูราวกับเด็กปรับตัวได้แล้ว การปฏิเสธบิดามารดา
วัยก่อนเรียน (อายุ 3-6 ปี)
กลัวสูญเสียความสมบูรณ์ของร่างกาย กลัวอวัยวะต่างๆถูกตัดขาด ยังแยกไม่ออกระหว่างความจริงกับจินตนาการ
วัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
กลัวร่างกายได้รับบาดเจ็บเริ่มกลัวความตาย เด็กต้องการค าอธิบายที่เป็นเหตุเป็นเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้น
วัยรุ่น (อายุ 12-21 ปี)
จะยินยอมพึ่งพาบิดามารดาโดยไม่มีปัญหา
จะอดทนต่อความเจ็บปวดและการที่ต้องอยู่ในโรงพยาบาล
pain ภาวะเจ็บปวด
วัยทารก
มีการตอบสนองต่อร่างกายทั้งหมด แขนขาอาจสั่นเกร็ง
กดเจ็บ ร้องเสียงดัง
วัยหัดเดิน
กระสับกระส่าย ถูบริเวณที่ปวด
วัยก่อนเรียน
ร้อง สามารถบอกตำแหน่งที่เจ็บปวดได
วัยเรียน
เกรงว่าร่างกายจะบาดเจ็บอาจต่อรอง
วัยรุ่น
สามารถบอกตำแหน่งที่เจ็บปวดและระดับความรุนแรงได้
เครื่องมือใช้ประเมิน
NIPS
FLACC
CHEOPS
FACE scale
Numeric rating scale
Behavior pain scale
Stress and coping
วัยทารก การตอบสนองของแม่ การดูแลต่างจากที่บ้าน
วัยหัดเดิน ทำให้เด็กสูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง
วัยก่อนเรียน การยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
และมีจินตนาการ
วัยเรียน เด็กกลัวถูกควบคุม
กลัวร่างกายพิการ กลัวตาย กลัวทอดทิ้ง
วัยรุ่น เด็กทุกข์จากความไม่เป็นอิสระ เด็กอาจตอบสนองด้วยการปฏิเสธ
การจัดการกับความเครียด (Coping)
ให้กำลังใจเด็กและพ่อแม่
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กปุวย
สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรม
การพยาบาล
ระยะเรื้อรัง (Chronic stage) :
วัยเรียน การเจ็บป่วยเรื้อรังอาจทำให้เด็กขาด
เรียน ทำให้รู้สึกต่ำต้อย
วัยรุ่น พ่อแม่ควรส่งเสริมความเป็นอิสระ
การส่งเสริมการเผชิญความเครียด
การลดความรู้สึกที่แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกต
วิธีการส่งเสริมการเผชิญความเครียดที่ส าคัญ คือ การให้ความหวัง
ระยะสุดท้าย
ระยะตกใจและปฏิเสธ (Shock & denial)
ระยะโกรธ (Anger)
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ระยะยอมรับ (Acceptance)
การดูแลให้เด็กตายอย่างสงบโดยไม่มีอาการปวด
เป็นการดูแลที่คงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
ความตาย
วัยทารก ไม่สามารถรับรู้หรือมีความ
เข้าใจเกี่ยวกับความตาย
วัยเด็ก เด็กจะมีความวิตกกังวลกับ
การพลัดพรากจากบิดา มารดา
วัยก่อนเรียน คิดว่า ความตายเป็นการจากไป
เป็นการนอนหลับ
วัยเรียน ความตายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และไม่สามารถฟื้น
กลับได้
วัยรุ่น เด็กไม่ค่อยยอมรับการจบชีวิต
ลงโดยเฉพาะการสิ้นสุดของชีวิตตนเอง
ภาพลักษณ์
โดยเฉพาะเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น
เมื่อเจ็บปุวยร่างกายจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะภายนอก
นางสาว สุทธิดา แสงสว่าง
รหัสนักศึกษา 612901083