Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Adjustment Disorder การปรับตัวที่ผิดปกติ - Coggle Diagram
Adjustment Disorder การปรับตัวที่ผิดปกติ
ความหมาย
เป็นโรคทางจิตเวชเนื่องจากการปรับตัว มีความผิดปกติด้านจิตใจที่เกิดมาจากสภาพการณ์ทางสังคม เช่น ปัญหาการเจ็บป่วยหรือพิการ ปัญหาความรักและชีวิตสมรส การหย่าร้าง เป็นต้น
อุบัติการณ์
5-20% พบบ่อยทุกอายุ โดยเฉพาะวัยรุ่น
สาเหตุ
ความสามารถเฉพาะตัว
อุปนิสัย
ประสบการณ์ชีวิต
วิธีแก้ปัญหา
ลักษณะอาการแบ่งตาม DSW IV
Adjustment Disorder with depressed mood
เศร้า เสียใจ สิ้นหวัง
Adjustment Disorder with depressed of conduct
ประพฤติละเมิดสิทธิ์ผู้อื่น กฎเกณฑ์
Adjustment Disorder with mixed distubance of emotion and conduct
เศร้า วิตกกังวล ความแปรปรวนของความประพฤติ
Adjustment Disorder unspecificed
ปฏิกิริยาการปรับตัวที่ไม่เหมาะสมต่อ psychosocial stressors ซึ่งไม่ได้จัดไว้อย่างเจาะจง
Adjustment Disorder with anxiety
วิตกกังวล หงุดหงิด เครียด ตื่นเต้น
อาการและอาการแสดง
อาการทางอารมณ์หรือพฤติกรรมที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์ ทำให้เกิดความเครียดภายใน 3 เดือน หลังจากเกิดเหตุการณ์
มีอาการตามข้อใดข้อหนึ่ง
กิจกรรมบกพร่อง
ไม่ใช่ปฏิกิริยาสูญเสียทั่วไป
ทุกข์ทรมานมากกว่าที่ควรจะเป็น
เมื่อเหตุการณ์สุดลงอาการอยู่ต่อไม่นานกว่า 6 เดือน ถ้านานกว่าเป็นเครียดเรื้อรัง
การวินิจฉัย
มีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และพฤติกรรมชัดเจนภายใน 3 เดือน นับแต่เริ่ม
อาการหรือพฤติกรรมใด
เครียดมากกว่าการตอบสนองความกดดันเกินปกติวิสัย
บกพร่องกิจกรรม
ตอบสนองภาวะกดดัมไม่เข้าเกณฑ์วิตนิจฉัยโรคทางจิตเวชใน Axis I,II
ไม่ใช่การตอบสนองทั่วไปจากการสูญเสีย
เมื่อความเครียดหายไป อาการไม่คงอยู่เกิน 6 เดือน
การรักษา
ลดอาการและช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวที่ดีขึ้น
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการต่อสู้กับปัญหาผู้ป่วย รวมทั้งเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเครียด เนื่องจากเผชิญสถาณการณ์คุกคาม
วิตกกังวลเนื่องจากความขัดแย้งในจิตใจ
เสี่ยงต่อการดูแลสุขภาพไม่ถูกต้อง เนื่องจากการรับรู้การเจ็บป่วยไม่ถูกต้อง
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยระบายปัญหาออกมาได้
ให้คำแนะนำ กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีวิธีการแก้ปัญหาที่ดีขึ้น
ประเมินบุคคลิกภาพของผู้ป่วย
ให้กำลังใจ
หากพบความผิดปกติทางจิตอื่นๆให้รีบรักษา
Family therapy, Behavior therapy, self help group
ประเมินระดับความรุนแรงและระยะเวลา
ให้ยา
หาสาเหตุของความกดดัน รวมทั้งวิธีตอบสนองของผู้ป่วย
เทคนิคการผ่อนคลายตนเอง
นวดกล้ามเนื้อ
ฝึกประสาทอัตโนมัติ แช่น้ำเย็นสลับน้ำอุ้น 10-20 นาที
เล่มกีฬาร่วมกับผู้อื่น ได้ระบายอารมณ์ แต่กติกาปลอดภัย
สร้างจิตนาการ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
ฟังเพลง เล่นดนตรี ผ่อนคลาย
ฝึกสมาธิ ผ่อนกล้ามเนื้อ ฝึกหายใจ
ศิลปะ กิจกรรมสนุก กิจกรรมกลุ่ม
เทคนิคการปรับเปลี่ยนความคิด
หยุดความคิด เมื่อรู้ตัวว่าคิดไม่ดี
การเบนความคิดด้วยกิจกรรม เช่น งานอดิเรก สวดมนต์
มีสติ รู้ตนเอง
ฝึกคิดด้านต่างๆ
มองตนเองดี ด้านบวก
มองผู้อื่นดี ให้อภัย
มองโลกและอนาคตในแง่ดี