Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, :, a70650_9f9c1fa3df3546459c976…
หัวข้อ 5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
อาการและอาการแสดง
–ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
–มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นใส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ ในรายที่มีีอาการรุนแรงจะมีตัวเหลือง ตาเหลือง
:warning:รายที่เป็นมารดาเป็นพาหะหรือมีการอักเสบของตับเรื้อรัง
Hepatitis B core antigen (HBcAg) : ส่วนแกนกลางมี DNA ที่รูปร่างกลมซึ่งจะตรวจไม่พบในเลือดหรือสารคัดหลั่งของร่างกาย แต่จะพบในนิวเคลียสตับของสตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ :
Hepatitis B e antigen (HBeAg) ส่วนประกอบย่อยที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญแปรสภาพของ HBcAg ในกระแสโลหิตพบได้เฉพาะบุคคลที่มี HBsAg เป็นบวกเท่านั้นและสามารถติดต่อและแพร่เชื้อได้มากกว่าร้อยละ 50
Hepatitis B surface antigen (HBsAg) ส่วนที่เป็นเปลือกนอกของไวรัสสามารถแพร่กระจายเชื้อผ่านทางเลือดน้ำลายน้ำตาสารคัดหลั่งทางช่องคลอดน้ำอสุจิน้ำคร่ำน้ำปัสสาวะ
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
➢ ไตรมาสที่ 1 และ 2 จะถ่ายทอดเชื้อไวรัสสู่ทารก 10%
ไตรมาสที่ 3 ถ่ายทอดสู่ทารก 75%
ผลกระทบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
➢เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
➢การตกเลือดก่อนคลอด
➢การคลอดก่อนกำหนด
➢ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรรักษา :recycle:
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติ การเจาะน้ำคร่ำ
ทารกอาจได้รับเชื ้อจากการกลืนสารคัดหลั่งจากแม่ได้
ระยะหลังคลอด
ฉีดวัคซีน HBIG ฉีดทันที ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลัง
คลอด เมื่อแม่ติดเชือเป็นพาหะ
-ฉีด BCG ฉีดทันที 1 hr หลังคลอด เดือน 6 เดือน
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
Hx.ประวัติการได้รับวัคซีนบุคคลในครอบครัว
อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นใส้อาเจียน ตัวตาเหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกันการแพร่กระจาย
❖ Universal Precaution
❖ ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นการคลอด
❖ ทารก : Suction ให้เร็ว หมด ท าความสะอาด
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles) :red_flag:
Rubella Virus :checkered_flag:
การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อ
สารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7วันก่อนผื่นขึ้น
จนถึง 7วันหลังผื่นขึ้น
:black_flag: การวินิจฉัย
:black_flag:1. การซักประวัติกาสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
:black_flag:2. ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้นหรือภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็ น 4 เท่าใน 2สัปดาห์
:fire:อาการและอาการแสดง
:fire:ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
:fire:ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน :warning:
หูหนวก
หัวใจพิการ
ต้อกระจก
:การรักษาพยาบาล :check:
:check:หญิงตั้งครรภ์ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้
ยุติการตั้งครรภ์
:check:รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
:check:-แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
: :check:-แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
:check:ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
ซิฟิลิส (Syphilis)
:red_cross:Treponema pallidum
❖เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด
❖แพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
❖มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็ก ๆ
❖เกิดการอุดตพันของรูหลอดเลือดผิวหนังขาดเลือดตายและเกิดแผล
❖แพร่ผ่านรกโดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
:recycle:การวินิจฉัย
➢การตรวจเลือด
: การตรวจ VDRL หรือ RPR
: FTA-ABS(Fluorescent Treponemal
Antibody Absorption Test)
➢ส่งตรวจนน้ำไขสันหลัง
:green_cross: อาการและอาการแสดง
:green_cross:Primary syphilis : หลังจากได้รับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
:green_cross:Secondary syphilis: ทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้าอาจมีไข้หรือ
ปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ ต่อน้ำเหลืองโต ผมร่วง
:green_cross:Latent syphilis: หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี ไม่แสดงอาการ
:green_cross:Tertiary or late syphilis :ทำลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจ
และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
:warning:ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกตาบอด
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
:red_cross:Congenital syphilis
:red_cross:ระยะแรกพบตั้งแต่คลอดถึง 1 ปีเน้ำหนักตัวน้อยตับม้ามโตต่อมน้ำเหลืองโตผิวหนังฝ่ามือฝ่าเท้าพองและลอกน้ำมูกมากเสียงแหลม“ wimberger's sign” ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
:red_cross:ระยะหลังพบอายุมากกว่า 2 ปีแก้วตาอักเสบ (interstitial keratitis) ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ (Hutchinson s teeth) หูหนวกจมูกยุบหน้าผากนูนกระดูกขาโค้งงอดผิดรูป
การรักษา :pencil2:
:pencil2:1.การรักษาระยะต้น ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
:pencil2:2.การรักษาระยะปลาย ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง นาน3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
:confetti_ball:การพยาบาล
:confetti_ball:ระยะตั้งครรภ์
อธิบายงาวามสำคัญของการคัดกรองความเสี่ยงของโรคผลต่อทารกในครรภ์
ส่งคัดกรอง TDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์หรือห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6 และ 12เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรองดูแลนาจิตใจ
:confetti_ball:ระยะคลอด
เน้นหลัก Universal precautionและป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็วและเจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
:confetti_ball:ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
:explode:อาการและอาการแสดง
:explode:Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
:explode:อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
:explode:ไข้ ปวดเมื่อยตัว
:explode:ต่อมน ้าเหลืองโต และอ่อนเพลีย
:fountain_pen:การติดเชื้อ Herpes simplex virus(HSV)
:fountain_pen:HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก(Orolabial herpes infection)
:fountain_pen:HSV type 2 เกิดโรคเริมที่อวัยวะเพศและทวารหนัก (anogenital herpes infection)
:warning:ภาวะแทรกซ้อน
:warning:ตาอักเสบ
:warning:ตุ่มใสๆ
:warning:ไข้
:warning:หนาวสั่น
:warning:ซึม
:warning:ตับ ม้ามโต
:unlock:การวินิจฉัย
:unlock:การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
:unlock:การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
:unlock:การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ (culture) โดยใช้ของเหลวที่ได้จากตุ่มใสที่แตกออกมา หรือการขูดเอาจากก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzanck smear ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผล แล้วย้อมสี Wright หรือ Giemsa เพื่อดู multinucleated giant cells
:check:การรักษา
:check:ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
:check:การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
:check:กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
:recycle:การพยาบาล
:recycle:ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
้ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ 2-3 ครั้ง
ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
:recycle:ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution
และหลีกเลี่ยงการท าหัตถการ
:recycle:ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อน
และหลังสัมผัสทารก
:
นางสาวสุจิตรา อนุไพร รหัสนักศึกษา 602701105 รุ่นที่ 35