Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด -…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มี ปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
การอักเสบเป็นหนองในอุ้งเชิงกราน(Parametritis)
อาการและอาการแสดง
ซีด
กดหน้าท้องไม่เจ็บถ้ามดลูกเข้าอู่แล้ว นํ้าคาวปลาไม่มาก อาจคลําพบก้อนที่หน้าท้อง ทวารหนัก หรือในช่องคลอด อาจเจ็บที่หน้าท้องข้างเดียวหรือสองข้าง อาจมี Endotoxic shock
มีอาการหนาวสั่น ชีพจรเบาเร็ว
Cross of death :อุณหภูมิตากว่า 36 องศาเซลเซียส ชีพจรเร็วกว่า 100 ครัง/นาที แสดงว่าpt.มีภาวะวิกฤต
เบื่ออาหาร อาเจียน บางครั้งมีอุจจาระเหลว
มีไข้สูงลอย หรือขึ้นๆลงๆ
การพยาบาล
ป้องกันการติดเชื้อ
:แนะนําการรักษาสุขภาพ สุขวิทยาส่วนบุคคล การทําคลอดถูกวิธี ถูกเทคนิค
อาการรุนแรง
: จัดสถานที่เหมาะสม ดูแลให้ได้รับสารนำ้และอาหารเพียงพอ เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพในรายทีอาจช็อค แก้ท้องอืดโดยใส่ NG tube ให้การพยาบาลดูแลตามอาการ
เมื่อมีอาการ
: จัดให้พักผ่อนเพียงพอ ไม่แพร่กระจายเชื่อแก่ผู้อื่น ทําแผลระบายหนองในรายที่แผลอักเสบ ดูแลแก้ไขอาการไม่สุขสบายดูแลตามอาการ
เต้านมอักเสบ (Mastitis)
สาเหตุ
:เต้านมคัดตึง ทารกดูกนมไม่ถูกวิธี ท่อนนมอุดตัน
อาการ
: คัดตึงเต้านม ปวดเต้านม เต้านมแดง กดเจ็บ บวม ต่อมนาเหลืองใต้รักแร้อาจโต และเจ็บ มีไข้สูง ชีพจรเร็ว หนาวสั่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
การป้องกัน
: รักษาความสะอาดของเต้านม สวมยกทรงทีพอเหมาะช่วยพยุงเต้านม ทําความสะอาดเต้านมก่อนกลังให้นมบุตร หัวนมแตกต้องรีบแก้ไขอย่าปล่อยไว้ ดูแลให้มารดาให้นมทารกได้ถูกวิธี ให้นมบ่อยๆทุก 2-3 ชมบีบนมทีเหลือค้างเต้าออก
การบวมเลือดหรือก้อนเลือดคัง (Hematoma)
สาเหตุ
:บาดเจ็บจากการคลอดเองหรือสูติหัตถการ การเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ ฝีเย็บฉีกขาด การบีบคลึงมดลูกรุนแรง ทําให้เลือดคั่งใต้เยือบุช่องท้อง และใน broad ligament
อาการและอาการแสดง:
มีการบวมเลือดบริเวณช่องคลอด เจ็บปวดบริเวณฝเย็บหรือทวารหนักมากหลังคลอด หากก้อนเลือดมีขนาดใหญ่อาจเกิดภาวะการตกเลือดไ ด้
การพยาบาล
1.ปองกันการบวมเลือดในรายทีเสียง วางกระเปานาแข็งทีฝเย็บชัวโมงแรกหลังคลอด
2.ถ้าเกิดก้อนหรือเลือดบวม บริเวณทีเกิดจะเปนก้อนแข็ง กดเจ็บ พยต้องประเมินขนาดของก้อนเลือด
3.ก้อนเลือดขนาดเล็ก ประคบเย็นลดอาการบวม ติดตามประเมินขนาดก้อนเลือด แต่ถ้ามีขนาดใหญ่ต้องทําการผ่าตัดเพือระบายเลือดและผูกหลอดเลือด หรืออาจใส่ท่อระบาย
4.ให้การดูแลตามอาการ เช่น บรรเทาอาการปวดด้วยยาลดปวด ประคบเย็น หากมีอาการช็อคต้องดูแลรักษาอาการและส่งผ่าตัดเพือหยุดเลือดโดยเร็ว
ภาวะมดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
สาเหตุ: ภาวะมดลูกหดรัดตัวไม่ดี มีเศษรกค้าว มารดาไม่ให้ทารกดูดนม มีการติดเชือ เยือบุมดลูกอักเสบ มดลูกควาหน้าหรือควาหลังมากเกินไป ผ่าตดคลอด
อาการและอาการแสดง
1.นาคาวปลาออกมากกว่าปกติ มีสีแดงตลอด มีกลินเหม็น
2.มดลูกนุ่มและใหญ่กว่าปกติ ระดับยอดมดลูกไม่ลดลง กดเจ็บหรือมีอาการปวดมดลูก
3.มีไข้
4.อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาลมารดาทีมีจิตใจแปรปรวนหลังคลอด
อารมณ์หลังคลอด (Postpartum blue)มักเกิดช่วง 3-4 วันหลัง
คลอด
อาการและอาการแสดง: ร้องไห้ไม่มีเหตุผล นอนไม่หลับกระสับกระส่าย อาการจะหายเอง 2-3 สัปดาห์ หรือรุนแรงขึนถ้าไม่ได้รับการดูแลทีเหมาะสม
สาเหตุ
4.ความตึงเครียดด้านจิตใจ การเปลียนเปลียนแปลงบทบาท ความตึงเครียดจากสังคมและสิงแวดล้อม3.จากการเปลี่ยนแปลงร่างกายจากการคลอด การเสียเลือด ความเจ็บปวด การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
3.จากการเปลี่ยนแปลงร่างกายจากการคลอด การเสียเลือด ความเจ็บปวด การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ
2.การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน จากโปรเจสเตอโรนสูงในระยะตังครรภ์และลดลงรวดเร็วหลังคลอด ร่วมกับมี Estradiol cortisol และ Prolactin เพิมขึน
1.จากการคลอด มีการเปลียนแปลงมากมายทังกาย จิตสังคม มารดาปรับตัวไม่ทัน
ภาวะซึมเศร้าหลัง คลอด (Postpartum depression)
การพยาบาล: อธิบายให้สามีผู้ปวยเข้าใจและสอนการดูแลบุตรแก่สามีผู้ปวย คอยให้กําลังใจมารดาสมาเสมอ จัดให้มารดาเข้ากลุ่มทํากิจกรรมกับมารดารายอืนๆ
อาการและอาการแสดง: รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า อ่อนเพลียไม่มีแรง มีความคิดอยู่ในสภาพความเปนจริง ท้อแท้ สินหวัง มองโลกในแง่ร้าย
แบ่งออกเปน 3 ระยะ
2.เกิดช่วง 1-3 เดือน หลังคลอด มารดาพยายามรวมกับบุตรเข้าเป้นครอบครัว พยายามตอบสนองความต้องการลูก มีการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่มากขึ้น มารดาอ่อนเพลีย อดนอน หงุดหงิดมากๆ
3 .อาจเกิดได้ในระยะเวลา 1 ปี หลังคลอด รู้สึกอยากทําหน้าที่แม่แต่อ่อนล้า เกิดอารมณ์แรปรวนไม่มันคง รู้สึกว่าตนไม่ได้รับรับการเอาใจใส่จากรอบข้าง ทําให้น้อยใจอย่างมาก
1.เกิดหลังคลอด วันที 3-10 ซึมเศร้า ฝนร้าย เสียใจ สูญเสีย เกิดจากการตืนเต้นจากการคลอด
โรคจิตหลังคลอด(Postpartum prychosis)
การรักษา
1.การรักษาทางกาย:การใช้ยา การช็อคไฟฟา
2.การรักษาทางจิตโดยใช้จิตบําบัด
3.การรักษาโดยกรแก้ไขสิงแวดล้อม ไดแก่ให้สามีเข้าใจถึงความผิดปกติทางจิตของภรรยา ให้ทราบแนวทางการรักษา แนะนําให้สามีหมันมาเยียมห้กําลังใจ ความอบอุ่นแก่มารดา
อาการพบได้เร็ว มีอาการรุนแรง รู้สึกว่าตัวเองไร้ค่า ไม่มีแรง หลงผิด เห็นภาพหลอน หวาดระแหวง ปฏิเสธการเลียงดูบุตร
การพยาบาล:.ให้มารดาได้รับความสุขและมีสุขอนามัยทีดี สามีและญาติเข้าใจแผนการรักษา ให้มารดาได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม ส่งเสริมบทบาทมารดาและสัมพัมธภาพในครอบครัว
การติดเชื้อหลังคลอด
ความหมาย:ติดเชื้อทางอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง ใน 6 สัปดาห์แรกหลังคลอดหรือภายใน 28 วันหลังแท้ง
แบ่งเป็น 2 ประเภท
1.ติดเชื้อเฉพาะที:ติดเชือทีบาดแผลทีอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
2.ติดเชื้อแพร่กระจายไปนอกมดลูก
ปัจจัยเสริมการติดเชื้อหลังคลอด
เนื่อเยื่อทางช่องคลอดกระทบกระเทือน
Hematoma
PV บ่อย
ตกเลือดมากกว่า 1000 มล
ภาวะโลหิตจาง ภาวะทุพโภชนา ผู้คลอดขาดอาหาร ฐานะไม่ดี สุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี มีถุงนาแตกนางนกว่า 12 ชมนาเดินนาน 24 ชม คลอดยาวนาน คลอดติดขัด ใช้สูติศาสตร์หัตถการ
มีรกค้าง
อาการแสดง
มีไข้สูง 38 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่าติดต่อกัน 2 วัน ในช่วง 10 วันแรกไม่นับ 24 ชมแรกหลังคลอด