Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบาดวิทยาการป้องกันโรคและการควบคุมโรค - Coggle Diagram
ระบาดวิทยาการป้องกันโรคและการควบคุมโรค
ระบาดวิทยากับงานสาธารณสุข
2.การสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ
ชนิดของการสอบสวน
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
การสอบสวนการระบาด
ชนิดของการระบาด
แหล่งโรคร่วม
ผู้ป่วยหลายรายมีอาการท้องเสีย ถ่ายเหลวหลังจากรับประทานอาหารจากร้านแห่งหนึ่ง
แหล่งโรคแพร่กระจาย
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจในเด็กนักเรียนที่มรการถ่ายทอดเชื้อโรคเป็นทอดๆ
แหล่งโรคผสมผสาน
ผู้ป่วยอหิวาตกโรคที่เกิดจากการรับประทานอาหารจากงานเลี้ยงแล้วกลับไปบ้านทำให้ติดต่อไปสู่บุคคลในครอบครัว
การระบาด มีผู้ป่วยจำนวนมากกว่าจำนวนปกติที่คาดหมาย ณ สถานที่
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินขอบเขตของการระบาดของโรค
เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบ
เพื่อป้องงกันการระบาดของโรคในอนาคต
เพื่อศึกษาโรคใหม่ที่ยังไม่มีการระบาดมาก่อน
เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงาสาธารณสุข
3.การป้องกันและควบคุมโรค
การป้องกันขั้นก่อนปฐมภูมิ
การป้องกันขั้นปฐมภูมิ
การป้องกันขั้นทุติยภูมิ
การป้องกันขั้นตติยภูมิ
1.การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
นิยาม กระบวนการจัดเก็บ วิเคราะห์ และแปลผลข้อมูลทางสาธารณสุขที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีระบบ
ตัวอย่าง เช่น ระบบเฝ้าระวังโดยรายงานผู้ป่วย รง 506 ระบบเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีและระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี เป็นต้น
ธรรมชาติของการรายงานโรค
ส่วนบน ผู้ป่วยส่วนน้อยที่มารักษาที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล
ส่วนล่าง ผู้ป่วยจำนวนมากที่อยู่ในชุมชนไม่ได้มารักษาที่โรงพยาบาล
ประเภท
การเฝ้าระวังเชิงรับ รายงานเป้นปกติประจำวัน ตามเวลาที่กำหนด
การเฝ้าระวังเชิงรุก เป็นการค้นหาเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับข้อมูลการเกิดโรค
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มเฉพาะพื้นที่ การเฝ้าระวังกลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาที่สนใจ
การเฝ้าระวังพิเศษอื่นๆ ดำเนินการเฝ้าระวังภาวะหรือสถานการณ์พิเศษ
ประโยชน์
ตรวจจับการระบาดของโรค
อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค
ติดตามสถานการณ์โรค
พยากรณ์การเกิดโรค
ประเมินผลมาตรการควบคุมป้องกัน
ขั้นตอน
เก็บรวบรวมและเรียบเรียงนำเสนอข้อมูล
เรียบเรียวนำเสนอ
ตรวจสอบข้อมูล
วิเคราะห์และแปลผลข้อมูล
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
ความรู้ทั่วไป
การทำงานระบาดวิทยา
Body of Knowledge รู้โรค มีองค์ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของการเกิดโรค
Methods for studying disease รู้วิธี รู้และเข้าใจวิธีการศึกษา เพื่อให้ได้ความรู้เกี่ยวกับโรคเพิ่มเติม
ระบาดวิทยาศึกษาอะไร
ระบาดวิทยา
การกระจายของโรค
บุคคล
Spot map
สถานที่
Table อายุ เพศ
เวลา
Epidemic curve
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อโรค
ปัจจัยเสี่ยง
สาเหตุ
แนวคิดของการเกิดโรค
การเกิดโรคในชุมชนมิใช่การสุ่มตัวอย่างแต่จะเกิดมากหรือน้อยหรือไม่เกิดขึ้นเลยในคนบางกลุ่มจึงต้องใช้ความรู้ทางระบาดวิทยาเพื่ออธิบายปัจจัยต่างๆที่ทำให้บางคนหรือบางกลุ่มมีโอกาสป่วยมากกว่าปกติ