Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.6. การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ, 3.7…
3.6. การพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Secondary survey
การซักประวัติ จากผู้ป่วย ผู้นำส่ง ผู้ประสบเหตุ
1.1 สาเหตุการเกิดเช่น รถยนต์ชน
1.2 ระยะเวลา เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการรักษา เช่น Open fracture ที่นานกว่า 8 ชั่วโมง
1.3 สถานที่ เช่นอุบัติเหตุในน้ำสกปรก คูน้ำ เป็นต้น
1.4 การรักษาเบื้องต้น เช่น การใส่ Splint
การตรวจร่างกาย
2.1การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
2.2 การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test ใช้ระยะเวลาสั้นๆ
กระดูกแขนขา โดยให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสองข้าง
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง โดยให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum
กระดูกสันหลัง กระดูกสันหลังส่วนคอให้ผู้ป่วยยกคอ
2.3 การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
2.4กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
2.5 มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
2.6 มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
3 การเอกซเรย์
3.2 ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
3.1 ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
Primary survey และ Resuscitation
มีปัญหาสำคัญคือการเสียเลือดจากการบาดเจ็บ และ
เกิดภาวะ Hypovolemic
ในผู้ป่วยที่กระดูกผิดรูป หรือ fracture ให้ทำการ splint ให้เหมาะสม เพื่อลดอาการปวด และพิจารณาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และออกซิเจนด้วย
ในระหว่างการทำ Primary survey และ Resuscitation พยาบาลควรทำการ Immobilizationเพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการบาดเจ็บข้อกระดูก ให้ทำการ Splint ให้ปวดน้อยที่สุด
Definitive care
Recognition เป็นการตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น เพื่อเป็นแนวทางในการรักษา
Reduction เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติมากที่สุด
Reconstruction เป็นการแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บหรือภาวะแทรกซ้อน
ให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Rehabilitation เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ
Refer เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
Retention เป็นการประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่จากการจัดกระดูกเข้าที่แล้วและรอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
การตรวจร่างกาย
ดู จะพบ Progressive flank พบ Scrotum และ Perineum บวม
คลำ พบกระดูก Pelvic แตก PR examination
การเคลื่อนไหว จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น ได้แก่การ Control bleeding โดยการทำ Stabilization pelvic ringจาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
Major Arterial Hemorrhage
การบาดเจ็บหลอดเลือดแดงเรียกว่า Hard signs
การช่วยเหลือเบื้องต้น พยาบาลควรทำ Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด และ
Fluid resuscitation
Crush Syndrome
ภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
อาการที่พบ ได้แก่ Dark urine, พบ Hemoglobin ได้ผลบวก เมื่อเกิดภาวะ Rhabdomyolysis ผู้ป่วยจะมีอาการของ Hypovolemia, Metabolic acidosis
การช่วยเหลือเบื้องต้น เมื่อวินิจฉัยได้จะให้ Fluid resuscitation ให้ Osmotic diuretic เพื่อ
รักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
3.7 การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นภายหลังการจมน้ำ
น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่า เลือด(พลาสมา) ดังนั้น ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดจำนวนมากก็จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันทีทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม (hypervolemia)
น้ำทะเลที่สำลักอยู่ในปอด จะดูดซึมน้ำเลือด (พลาสมา) จากกระแสเลือดเข้าไปในปอด ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (hypovolemic) และระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น ทำให้หัวใจเต้นผิดปกต
อาการ
หัวใจอาจหยุดเต้น
มีอาการหมดสติ
หยุดหายใจ
อาจมีอาการปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน กระวนกระวาย
ความดันเลือด
ต่ำ หรือภาวะช็อก
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพของผู้จมน้ำ
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
1.1 อายุ
1.2 การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
1.3 Diving reflexes
1.4 สุขภาพผู้จมน้ำ
1.5 การรับประทานอาหารที่ที่อิ่มใหม่ๆ
1.6 การมึนเมาจากสุรา
1.7 ความรู้ในการว่ายน้ำ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
การสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทําให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงอย่า
รวดเร็ว
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจและปอด มีภาวะ Pulmonary congestion หรือ edema
การเปลี่ยนแปลงระบบประสาท การจมน้ำทำให้เกิด cerebral hypoxia เกิดภาวะสมองบวมตามมา และ
ภาวะ circuratory arrest ทำให้ cerebral perfusion ลดลง ทำให้สมองขาดเลือด Ischemic brain
การเปลี่ยนแปลงระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
การเปลี่ยนแปลงของเกลือแร่และกรดด่างในเลือด
การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในร่างกาย อุณหภูมิของร่างกายลดต่ำลงตามอุณหภูมิของน้ำที่ผู้ป่วยแช่อยู่
ในเด็กอุณหภูมิของร่างกายจะลดลงเร็วกว่าผู้ใหญ่มาก
การปฐมพยาบาล
1 กรณีที่คนจมน้ำรู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะนำให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ
ให้ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น
ให้ทำการนวดหัวใจทันที
ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง
ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะ
หงายไปข้างหลัง เพื่อให้น้ำไหลออกทางปาก
ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น
ควรส่งผู้ป่วยที่จมน้ำไม่ว่าจะมีอาการหนักเบาเพียงใด