Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช - Coggle Diagram
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช
นิเวศน์บำบัด Milieu Therapy
องค์ประกอบของนิเวศน์บำบัด
ความปลอดภัย safety
โครงสร้าง Structure
บรรทัดฐานทางสังคม norms
ความสมดุล balance
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช Limitsetting
กลุ่มกิจกรรมบำบัด (Group activity therapy)
องค์ประกอบของกลุ่มกิจกรรมบำบัด
กิจกรรม activity
สถานที่ setting
ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด leader
ผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม co-leader
สมาชิกกลุ่ม members
ลักษณะของผู้ป่วยในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
Uninvolved patient
Hostile patient
Dominant patient
Distracting patient
บทบาทพยาบาลในนิเวศน์บำบัด
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย
วางแผนจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วย
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว
จำกัดสิทธิหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและก่อให้เกิดอันตราย
วางแผนออกแบบสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมปลอดภัย
พฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy)
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้ด้วยเงท่อนไขแบบดั้งเดิม classicalconditioning
การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
Operant conditioning
การเรียนรู้ทางสังคม
Social learning
วิธีการของพฤติกรรมบำบัด
Shaping Teachjque
Punishment
Counter Conditioning
Reinforcement
Assertive training
Self Monitoring
การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม
(cognitive behavioral therapy :CBT)
ฝึกทักษะ
การสร้างเสถียรภาพของทักษะและการฝึกใช้ทักษะ
การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์
การประยุกต์ใช้โดยทั่วไปและการธำรงรักษา
การประเมิน
การประเมินหลังการบำบัดและการติดตาม
กระบวนการรักษา CBT
จิตบำบัด (Psychotherapy)
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
จุดมุ่งหมาย
เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจเฉพาะเรื่อง (ในระดับจิตไร้สำนึก)
เพื่อแก้ไขกลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
จิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
จุดมุ่งหมาย
เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
เพื่อช่วยเพิ่มพลังและประคับประคองให้เแก่
การทำงานของจิตใจ
วิธีการของจิตบำบัด
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม(Environment manipulation
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก(Externalizations of Interest)
การชักชวนจูงใจ (Persuasion)
แนวทางการแนะนำ(Guidance)
การระบายอารมณ์(Ventilation)
ให้การสนับสนุน(Encouragement)
การแนะนำ(Suggest)
ให้ความมั่นใจให้กำลังใจ (Reassurance)
การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง (Desensitization)
ชนิดของจิตบำบัดกลุ่ม
Repressive interaction group
Free-interaction group
Therapeutic Social Club
Psychodrama
Didactic group
การทำกลุ่มบำบัดให้ประสบความสำเร็จในการบำบัดรักษา
ทุกคนมีสิทธิที่จะป่วยเหมือนกัน
การได้ระบาย (Expression)
การเข้าใจตนเอง (Self Understanding)
การรับผิดชอบตนเอง (Self Responsibility)
สร้างความหวัง (Instillation of Hope)
การเห็นประโยชน์ของผู้อื่น (Altruism)
มีความสามัคคีของกลุ่ม (Group Cohesiveness)