Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage),…
บทที่ 3 การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉินและการจำแนกผู้ประสบสาธารณภัย (Triage)
ระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Definitive care
Retention
การประคับประคองกระดูกอยู่นิ่งกับที่ และรอให้กระดูกติดตามธรรมชาติ
Rehabilitation
ส่วนที่บาดเจ็บ เเละดูแลจิตใจ
Reduction
จัดกระดูกให้เข้าที่ให้ใกล้เคียงกับภาวะปกติ
Reconstruction
แก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บ
Recognition
ตรวจประเมินกระดูกหัก ข้อเคลื่อน และการบาดเจ็บอื่น
Refer
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Arterial Hemorrhage
การฉีกขาดของหลอดเลือด
อาจเป็นการบาดเจ็บแบบBlunt trauma หรือ Penetrating wound
มีการเสียเลือดจำนวนมากและเกิด Hypovolemic shock ได้
ลักษณะของการบาดเจ็บ เรียกว่า Hard signs
hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลำได้thrill ฟังได้bruit
Pulsatile bleeding บริเวณบาดแผล
6Ps ได้แก่ Pain, Pallor,Poikilothermia, Paresthesia, Paralysis, Pulselessness
ภาวะผิดปกติของชีพจรนั้นอาจสับสนกับ ภาวะ Shock
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Direct pressure บริเวณบาดแผลเพื่อหยุดเลือด
Fluid resuscitation ในรายที่กระดูกผิดรูป ทำการจัดกระดูกให้เข้าที่และ Splint
Crush Syndrome
ภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
อาการที่พบ
Dark urine
Hemoglobin ผลบวก เกิดภาวะ Rhabdomyolysis
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
DIC
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Fluid resuscitation
Osmotic diuretic เพื่อรักษาระดับ Tubular volume และ Urine flow
แพทย์จะพิจารณาให ้ Sodium bicarbonate เพื่อช่วย ลด Myoglobin ที่ไปทำลาย Tubular system
ระหว่างการให้สารน้ำและยาจะประเมิน Urine output ให้ได้ 100 cc./ชั่วโมง จนกว่าปัสสาวะจะใส
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
การตรวจร่างกาย
ดู
พบProgressive flank
พบ Scrotum
Perineum บวม
มีแผลฉีกขาดบริเวณPerineum และ Pelvic
คลำ
พบกระดูก Pelvic แตก
เลือดออกบริเวณ Urethral meatus
PR examination พบ high-riding prostate gland
เคลื่อนไหว
ขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ระบบไหลเวียนจะพบความดันโลหิตต่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
สิ่งที่ต้องคำนึง
ภาวะ unstable pelvic fracture จากการฉีกขาดของอวัยวะภายใน
อาจมีการบาดเจ็บของเส้นเลือด เส้นประสาทร่วมด้วย
ผู้ป่วย Pelvic fracture ร่วมกับภาวะHypovolemic shock
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
Secondary survey
ประเมินผู้ป่วย
ระยะเวลา
สถานที่
สาเหตุการเกิด
การรักษาเบื้องต้น
การตรวจผู้ป่วย
2.การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum
แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
เจ็บปวดแสดงว่าอาจเกิดการหักของ
กระดูกซี่โครง
ออกแรงกดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้าง
พร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน และกดบริเวณ Pubic symphysis
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดแปลว่ากระดูกหัก
กระดูกสันหลัง
ผู้ป่วยนอนหงายพลิกตะแคงตัวแบบท่อนซุง ใช้มือคลำตามแนวกระดูกสันหลังตลอดแนว
มีการบาดเจ็บกระดูกสันหลัง
จะพบอาการกดเจ็บ บวมผิดรูป
ให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวัง ในท่านอนหงาย
ทำได้แสดงว่าอาจไม่มีการหัก
กระดูกแขนขา
โดยให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสอง
3.การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
หากกระดูกหักจะพบ
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
1.การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Primary survey และ Resuscitation
ปัญหาสำคัญ
เกิดภาวะ Hypovolemic หรือ Hemorrhage shock
การเสียเลือดจากการบาดเจ็บ
การ Control bleeding ดีที่สุด
Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
การดูแลผู้ป่วยกระดูกผิดรูป หรือ fracture
ทำการ splint ให้เหมาะสม เเละลดอาการปวด
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ และออกซิเจน
ทำการ Immobilization เพื่อจัดกระดูกให้อยู่ในตำแหน่งที่ปกติ
ลดการขยับเลือนโดยการ Splint กระดูกส่วนที่หัก
ใส่Splint ให้ครอบคลุมข้อบนและข้อล่างของตำแหน่งที่กระดูกหัก
กระดูกหัก Multiple long bone fracture
Pulmonary embolism และเสียชีวิตได้
กระดูกหักร่วมกับอาการบวม ปวดมาก
ระวังภาวะ Compartment syndrome
กระดูก Pelvic fracture และ Open fracture
ระวังเรื่องการเสียเลือดจนอาจทำให้เกิด Hypovolemic shock ได้
สิ่ิงที่มีความสำคัญในการรักษาแขนขา
กระดูกหักข้อเคลื่อนอาจทำให้หลอดเลือดฉีกขาดหรืออุดตันได้
การฉีกขาดของหลอดเลือดที่มีการเสียเลือดมากเกิด Hemorrhagic shock
ปริมาณการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงส่วนปลายเพียงพอ
ขาดเลือดของเนื้อเยื่อส่วนปลายจนส่งผลให้สูญเสียการทำงานของเส้นประสาท หรือเกิดการเน่าตายของเนื้อเยื่อส่วนปลาย
การขาดเลือดนานกว่า 6 ชั่วโมง ถือว่าเป็น Golden period
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
อาการ
ถ้าไม่หมดสติ
ปวดศีรษะ เจ็บหน้าอก อาเจียน กระวนกระวาย
ไอมีฟองเลือดเรื่อ ๆ (ซึ่งแสดงว่ามีภาวะปอดบวมน้ำ)
พบภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติหัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันเลือดต่ำ หรือภาวะช็อก
หมดสติ และหยุดหายใจ
บางคนหัวใจอาจหยุดเต้น (คลำชีพจรไม่ได้)
ปัจจัยที่มีผลต่อพยาธิสภาพของผู้จมน้ำ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
ข้อดีคือการเผาผลาญลดลง brain anoxia ช้าลง
แต่มีผลทำให้หัวใจเต้นผิดปกติและตายได้
การสูดสำลักน้ำเข้าปอดจะทําให้อุณหภูมิของร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในเลือดและสมอง
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
Diving reflexes
สุขภาพผู้จมน้ำ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
การรับประทานอาหารที่ที่อิ่มใหม่ๆ
การมึนเมาจากสุรา
อายุ
ความรู้ในการว่ายน้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
พยาธิสภาพ
น้ำจืด
น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่า เลือด(พลาสมา)
กลไก
ปอดจำนวนมากก็จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที
ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม (hypervolemia)
ระดับเกลือแร่(เช่น โซเดียม โพแทสเซียม) ในเลือดลดลง
หัวใจเต้นผิดจังหวะหรือหัวใจวาย
เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
น้ำทะเล
มีความเข้มข้นมากกว่าเลือด
กลไก
ปอด จะดูดซึมน้ำเลือด (พลาสมา)
กระแสเลือดเข้าไปในปอด
เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)
ะบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง (hypovolemic)
และระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
หัวใจเต้นผิดปกติ
เกิดภาวะช็อก
หัวใจวาย
คนที่จมน้ำมักตายเนื่องจากขาดอากาศหายใจมากกว่า การเปลี่ยนแปลงของระดับเกลือแร่ และปริมาตรของเลือด
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
3.ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด(พลาสมา)
น้ำทะเล มีความเข้มข้นมากกว่าเลือด
4.เกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosis
เยื่อบุถุงลมอักเสบ , ถุงลมขาด surfactant ,atelectasis, pulmonary edema
PO2 metabolic acidosis เเละPCO2 respiratory acidosis
น้ำ
น้ำจืด
hyponatremia, hypochloremia, hyperkalemia
น้ำเค็ม
hypernatremia, hyperchloremia, hypermagnesemia
2.ระบบประสาท
เกิด cerebral hypoxia
ภาวะ circuratory arrest
เกิดภาวะสมองบวมตามมา
cerebral perfusion ลดลงทำให้สมองขาดเลือด Ischemic brain
5.อุณหภูมิในร่างกาย
ลดต่ำลงตามอุณหภูมิของน้ำที่ผู้ป่วยแช่อยู่
เด็กอุณหภูมิของร่างกายจะลดลงเร็วกว่าผู้ใหญ่มาก
1.ระบบทางเดินหายใจและปอด
มีภาวะ Pulmonary congestion หรือ edema
1.1สูดสำลักสารน้ำเข้าไปจะเกิดพยาธิสรีรภาพกับปอดอย่างรุนแรง
Tonicity ของสารน้ำ
Hypotonic solution การจมน้ำจืด
Hypertonic solution การจมน้ำทะเล
Toxicity
Particles และ micro-organism
ผู้ป่วยที่ไม่มีการสำลักน้ำ จะพบภาวะสมองขาดออกซิเจน และเกิดneurogenic pulmonary edema ตามมา
สาเหตุ
จะตายเนื่องจากภาวะแทรกซ้อนในภายหลังได้
การเปลี่ยนแปลงของระดับเกลือแร่ในร่างกาย
ภาวะเลือดเป็นกรด
ปอดอักเสบ
ภาวะปอดบวมน้ำ(pulmonary edema)
ภาวะปอดไม่ทำงาน (ปอดล้ม ปอดวาย)
คนที่จมน้ำตายภายใน 5-10 นาที
การปฐมพยาบาล
ถ้าผู้ป่วยหยุดหายใจ ให้ทำการเป่าปาก ช่วยหายใจทันที
3.ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น ให้ทำการนวดหัวใจทันที
1.กรณีที่คนจมน้ำรู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
แนะน้าให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ถ้าผู้ป่วยยังหายใจได้เอง หรือช่วยเหลือจนหายใจได้แล้ว
ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง
ใช้ผ้าห่มคลุมผู้ป่วยเพื่อให้เกิดความอบอุ่น
อย่าให้ผู้ป่วยกินอาหารและดื่มน้ำทางปาก
5.ส่งต่อไปโรงพยาบาลทุกราย
หมดสติและหยุดหายใจ ควรผายปอด ด้วยวิธีเป่าปากไปตลอดทาง