Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน, ชื่อ นางสาวมาลินี คำมา รหัส 6001211368 เลขที่…
การพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ
Primary survey และ Resuscitation
การ Control bleeding
Direct pressure ด้วย Sterile pressure dressing
กระดูกผิดรูป หรือ fracture
ให้ทำการ splint ให้เหมาะสม
พิจารณาให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
พิจารณาให้ออกซิเจน
ควรทำการ Immobilization
Secondary survey
การประเมิน
ซักประวัติ
สาเหตุการเกิด
ระยะเวลา
สถานที่
การรักษาเบื้องต้น
การตรวจร่างกาย
การตรวจและรักษา Life threatening และ Resuscitation
การตรวจคร่าวๆ เพื่อ Screening test
กระดูกแขนขา
ให้ผู้ป่วยยกแขนขาทั้งสองข้าง
กระดูกเชิงกรานและกระดูกซี่โครง
ให้ผู้ป่วยนอนหงายออกแรงกดบริเวณ Sternum
แล้วบีบด้านข้างทรวงอกทั้งสองข้างเข้าหากัน
ตรวจกระดูกเชิงกราน
กดบริเวณ anterior superior iliac spine ทั้งสองข้างพร้อมกันในแนว Anterior-posterior แล้วบีบด้านข้างเข้าหากัน
กดบริเวณ Pubic symphysis
กระดูกสันหลัง
ให้ผู้ป่วยยกคอ หันศีรษะอย่างระมัดระวังในท่านอนหงาย
การตรวจอย่างละเอียด Secondary survey
กระดูกผิดรูป โก่งงอ หดสั้นหรือบิดหมุน
มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
มีเสียงกระดูกขัดกัน (Crepitus)
การเอกซเรย์
ถ่ายเอกซเรย์ 2 ท่าในแนวตั้งฉากกัน คือ Anterior-posterior
ถ่ายเอกซเรย์ให้ครอบคลุมกระดูกส่วนที่หักรวมส่วนข้อปลายกระดูกทั้งสองด้าน
Definitive care
Recognition
การตรวจประเมิน
กระดูกหัก
ข้อเคลื่อน
การบาดเจ็บอื่น
Reduction
เป็นการจัดกระดูกให้เข้าที่
การจัดกระดูก
Close reduction
Open reduction
Retention
การประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่
Immobilization
เป็นสิ่งสำคัญในผู้ป่วยกระดูกหัก
เป็นการประคับประคองให้กระดูกมีการเคลื่อนที่น้อยที่สุด
Rehabilitation
เป็นการฟื้นฟูสมรรถภาพของส่วนที่บาดเจ็บ รวมทั้งการฟื้นฟูดูแลจิตใจ
Reconstruction
เป็นการแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บ
Refer
เป็นการส่งต่อไปรักษาที่เหมาะสม
ภาวะกระดูกหักที่คุกคามชีวิต
Major Pelvic disruption with Hemorrhage
คำนึงถึงภาวะ unstable pelvic fracture
การตรวจร่างกาย
ดู
Progressive flank บวม
Scrotum บวม
Perineum บวม
คลำ
Pelvic แตก
PR examination พบ high-riding prostate gland
มีเลือดออกบริเวณ Urethral meatus
การเคลื่อนไหว
จะพบขาข้างที่ผิดปกติจะสั้น
ให้ทำเพียงครั้งเดียวเพราะอาจทำให้เกิดเลือดออกมากขึ้น
ตรวจดู Sacral nerve root และ Plexus
ระบบไหลเวียน
จะพบความดันโลหิตต่ำ
เอกซเรย์ในรายที่สงสัย โดยการส่ง film pelvic AP view
การช่วยเหลือเบื้องต้น
Control bleeding
Stabilization pelvic ring จาก external counter pressure และ Fluid resuscitation
consult แพทย์ศัลยกรรมในกรณีที่ยังมี Hemodynamic abnormality
Major Arterial Hemorrhage
Hard signs
บริเวณบาดแผล hematoma มีขนาดใหญ่ขึ้น
คลำได้ thrill
ฟังได้ bruit
6Ps
Pain
Pallor
Poikilothermia
Paresthesia
Paralysis
Pulselessness
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ควรทำ Direct pressure บริเวณบาดแผล
Fluid resuscitation
Crush Syndrome
เป็นภาวะที่มีการบาดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
อาการที่พบ
Dark urine
พบ Hemoglobin ได้ผลบวก
เมื่อเกิดภาวะ
Rhabdomyolysis
Hypovolemia
Metabolic acidosis
Hyperkalemia
Hypocalcemia
DIC
การช่วยเหลือเบื้องต้น
จะให้ Fluid resuscitation
ให้ Osmotic diuretic
แพทย์จะพิจารณาให้ Sodium bicarbonate
การพยาบาลผู้ป่วยจมน้ำ
พยาธิสภาพ
น้ำจืดจะมีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด
ถ้ามีน้ำอยู่ในปอดจำนวนมากก็จะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทันที
ทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม
มีผลทำให้ระดับเกลือแร่ในเลือดลดลง
น้ำทะเลที่สำลักอยู่ในปอดจะดูดซึมน้ำเลือด
ทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ
ระบบไหลเวียนมีปริมาตรลดลง
ระดับเกลือแร่ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น
อาการ
หมดสติ
หยุดหายใจ
บางคนหัวใจอาจหยุดเต้น
ปวดศีรษะ
เจ็บหน้าอก
อาเจียน
กระวนกระวาย
ไอมีฟองเลือดเรื่อ ๆ
ปัจจัย
สภาพผู้ป่วยก่อนจมน้ำ
อายุ
การสูดหายใจเข้าปอดเต็มที่ก่อนจมน้ำ
Diving reflexes
สุขภาพผู้จมน้ำ
การรับประทานอาหารที่ที่อิ่มใหม่ๆ
การมึนเมาจากสุรา
ความรู้ในการว่ายน้ำ
อุณหภูมิของร่างกายหลังจมน้ำ
ช่วงเวลาที่จมอยู่ใต้น้ำ
การช่วยฟื้นคืนชีพได้เร็วและถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
CPR ภายใน 10 นาที โอกาสรอด 90%
CPR ภายใน 5 นาที โอกาสรอด 96%
การเปลี่ยนแปลงพยาธิสรีรภาพ
ระบบทางเดินหายใจและปอด
ผู้ป่วยมีการสูดสำลักสารน้ำเข้าไป
Tonicity
Hypotonic solution
น้ำจืด
ทำให้ surface tension ลดลง
เกิดภาวะ Atelectasis
เกิดภาวะ hypoxia
หากเกิดภาวะpneumonitis จะเกิดภาวะ Hypoxia ตามมา
Hypertonic solution
จมน้ำทะเล
เกิดภาวะ hypoxia จากถุงลมปอดแตก (rupture alveoli)
เกิด pulmonary damage
เกิด lung compliance ลดลง
pneumonitis
Toxicity
Particles และ micro-organism
ผู้ป่วยที่ไม่มีการสำลักน้ำ
จะพบภาวะสมองขาดออกซิเจน
ทำให้ peripheral vasoconstriction
เกิด blood flow ที่ปอดเพิ่มขึ้น
เกิด capillary wall damage และ capillary pressure ที่ปอดเพิ่มขึ้น
เกิด neurogenic pulmonary edema
ระบบประสาท
ทำให้เกิด cerebral hypoxia
เกิดภาวะสมองบวม
ภาวะ circuratory arrest
ทำให้ cerebral perfusion
ทำให้สมองขาดเลือด Ischemic brain
ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ
ทำให้ปริมาตรของเลือดที่ไหลเวียนเพิ่มจากเดิม
อาจเกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก (hemolysis)
Pulmonary edema ในน้ำเค็ม
เกลือแร่และกรดด่างในเลือด
acidosis
PO2 metabolic acidosis
PCO2 respiratory acidosis
น้ำจืด
hyponatremia
hypochloremia
hyperkalemia
น้ำเค็ม
hypernatremia
hyperchloremia
hypermagnesemia
อุณหภูมิในร่างกาย
T 37 - 35 องศา หนาวสั่น ทรงตัวไม่อยู่
T 35 - 32 องศา สับสน หัวใจเต้นเร็ว
T 32 - 28 องศา เกร็ง หัวใจเต้นช้า หายใจช้า
T 28 - 25 องศา หมดสติ หัวใจเต้นผิดปกต
T 25 - 21 องศา หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น
การปฐมพยาบาล
กรณีที่คนจมน้ำรู้สึกตัวดี สำลักน้ำไม่มาก
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ปลอบโยนให้คลายความตกใจ
ดูแลร่างกายให้อบอุ่น
แนะน้าให้ไปพบแพทย์เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได
หยุดหายใจ
ช่วยหายใจทันที
น้ำอยู่เต็มท้อง
นอนคว่ำแล้วใช้มือ 2 ข้าง วางอยู่ใต้ท้องผู้ป่วย
ยกท้องผู้ป่วยขึ้นจะช่วยไล่น้ำออกจากท้องให้ไหลออกทางปากได
จับผู้ป่วยพลิกหงาย และทำการเป่าปากต่อไป
ถ้าคลำชีพจรไม่ได้ หรือหัวใจหยุดเต้น ให้ทำการนวดหัวใจทันที
ถ้าหายใจได้เอง ควรจับผู้ป่วยนอนตะแคงข้าง และศีรษะหงายไปข้างหลัง
ควรส่งผู้ป่วยที่จมน้ำไม่ว่าจะมีอาการหนักเบาไปโรงพยาบาล
ชื่อ นางสาวมาลินี คำมา รหัส 6001211368 เลขที่ 62 Section A